สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม ทำบุญเลี้ยงเจ้าพ่อ ทำบุญเลี้ยงเจ้าพ่อเพื่อขอให้คุ้มครองปกป้องชาวบ้าน
มกราคม ทำบุญเจดีย์ข้าวเปลือก ก่อเจดีย์ข้าวเปลือก เป็นการเคารพพระแม่โพสพ
เมษายน สงกรานต์ รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ ประเพณีสงกรานต์รดน้ำดำหัวขอพรจากผู้ใหญ่ในชุมชน
เมษายน ทำบุญสงเคราะห์หมู่บ้าน ทำบุญสงเคราะห์อุทิศส่วนกุศลให้ญาติๆ และทำบุญสงเคราะห์ให้แก่หมู่บ้าน
เมษายน ก่อเจดีย์ทราย ชาวบ้านจะร่วมกันก่อเจดีย์ทรายในวัด
พฤษภาคม เลี้ยงผีฝาย ทำบุญเลี้ยงผีฝายน้ำเพื่อขอให้มีน้ำกินน้ำใช้ตลอดทั้งปี
สิงหาคม มัดมือลาคุ เป็นการมัดมือเรียกขวัญ
พฤศจิกายน งานลอยกระทง ขอขมาพระแม่คงคา
ธันวาคม ทำบุญส่งนก เป็นการทำบุญเพื่อไม่ให้นกมาทำลายพืชผลทางการเกษตร

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม เป็นช่วงก่อนทำการเพาะปลูกทำให้ชาวบ้านส่วนใหญ่จะรับจ้างทางงานต่างๆ งานชาวบ้านส่วนมากจะเป็นการรับจ้างงานต่างๆ
กุมภาพันธ์ ช่วงก่อนการเพาะปลูก ชาวบ้านส่วนมากจะทำการรับจ้างหรือทำอาชีพเสริมต่างๆ เช่น จักสาน ค้าขาย เป็นต้น
มีนาคม ช่วงก่อนการเพาะปลูก ชาวบ้านส่วนมากจะทำการรับจ้างหรือทำอาชีพเสริมต่างๆ เช่น จักสาน ค้าขาย เป็นต้น
เมษายน เป็นช่วงเตรียมการก่อนการเพาะปลูก ชาวบ้านจะเริ่มลงมือถางไร่ไถ่นาเพื่อเตรียมการเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตร
พฤษภาคม เริ่มทำการปลูกพืชและข้าว โดยปลูกข้าวไร่ ทำการเกษตร
มิถุนายน เริ่มทำการปลูกพืชและข้าว โดยปลูกข้าวไร่ ทำการเกษตร
กรกฏาคม เริ่มทำการปลูกพืชและข้าว โดยปลูกข้าวไร่ ทำการเกษตร
สิงหาคม เริ่มทำการปลูกพืชและข้าว โดยปลูกข้าวไร่ โดยช่วงนี้ข้าวใกล่ได้เวลาเก็บเกี่ยวแล้ว ทำการเกษตร
กันยายน เริ่มทำการเก็บเกี่ยวผลผลิต เก็บเกี่ยวข้าวและพืชผลทางการเกษตรอื่นๆ
ตุลาคม เป็นช่วงเข้าหน้าหนาวชาวบ้านจะออกหาเก็บของป่า เช่น เห็ด หน่อไม้ พืชผักของป่า เก็บของป่า เช่น เห็ด หน่อไม้ พืชผักของป่า
พฤศจิกายน ชาวบ้านขายผลผลิตทางการเกษตรและเริ่มหาอาชีพเสริม ขายผลผลิตทางการเกษตร ทำอาชีพเสริม
ธันวาคม ชาวบ้านขายผลผลิตทางการเกษตรและเริ่มหาอาชีพเสริม ขายผลผลิตทางการเกษตร ทำอาชีพเสริม

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม 1. โรคอหิวาต์ไก่ (โรคขี้ขาว) 2. โรคปากเท้าเปื่อยในวัว 1. ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย 2. เล็บวัวเป็นแผล ปากเป็นแผล เดินไม่ได้
กุมภาพันธ์ 1. อากาศมีการเปลี่ยนแปลง 2. ทำแนวกันไฟ 1. เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก 2. เกิดควันไฟปกคลุมในพื้นที่
มีนาคม เริ่มเกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในแม่น้ำเริ่มลดลง มีน้ำในการทำการเกษตรน้อย
เมษายน เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในแม่น้ำเริ่มลดลง มีน้ำในการทำการเกษตรน้อย
พฤษภาคม เริ่มเข้าฤดูฝน 1. ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2. น้ำในแหล่งน้ำมีปริมาณสูงเตรียมใช้ในการทำการเกษตร
มิถุนายน 1. ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน 2. เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 1. ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ 2. ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มทำการเกษตรปลูกข้าวพืชผัก
สิงหาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มทำการเกษตรปลูกข้าวพืชผัก
กันยายน เห็ดโคนออก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
ตุลาคม 1. เห็ดไข่ห่าน ไข่เหลืองออก 2. ฝนตกหนัก ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายเห็ดไข่ห่าน ไข่เหลือง
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาว อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็น 1. ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2. ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม