สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มีนาคม 1.ประเพณีแต่งงาน เป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกัน และพร้อมที่จะเป็นครอบครัว
เมษายน 1.ทำบุญต้นโพธิ์ 2.เจดีย์ทราย 3.รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ 4.ว่อฮี - มีการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระ และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ชาวบ้านจะนำอาหารที่ไม่ได้ทำจากเนื้อสัตว์และขนมหวานต่างๆ และจุดธูปเทียนเพื่อเป็นการบอกกล่าวเจ้าที่ให้คุ้มครองตลอดปีด้วย - ชาวบ้านจะนำไม้ไผ่มาสานเป็นตระแกรงเพื่อที่จะใส่ของ ซึ่งประกอบด้วย ข้าว ขนม ดอกไม้ ผลไม้ต่างๆ อีกทั้งสานตะกร้าน้อยอีก ๔ ใบ เพื่อวางดอกไม้ และเศษด้ายมารวมกัน แล้วจุดเทียน ๒ ดอก ขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ในหมู่บ้านปกปักรักษา คุ้มครองให้ชาวบ้านอยู่ดีมีสุข
พฤษภาคม 1.เลี้ยงผีฝายเตรียมการลงทำนา เป็นพิธีไหว้ เลี้ยงผีไร่ ผีนา เพื่อขอให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่เพาะปลูกไว้มีความเจริญงอกงาม อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงผี - เหล้า ๒ ขวด - ไก่ ๒ ตัว - ด้าย มัดมือ
กรกฏาคม 1.ทำบุญเข้าพรรษา มีการทำบุญตักบาตรที่วัดในตอนเช้า และตอนสายจะมีการพัฒนาหมู่บ้าน ศศช. และสำนักสงฆ์
สิงหาคม 1.วันแม่แห่งชาติ 2.มัดมือ(กีจือลาขุ) - จัดพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ - จะเป็นการมัดมือของคนในหมู่บ้านทุครอบครัวและมีไก่ 2 ตัว เหล้า 2 ขวด ข้าต้ม ข้าวงา ด้ายมัดมือ
ตุลาคม 1.ทำบุญในวันออกพรรษา ชาวบ้านร่วมทำบุญตักบาตรในตอนเช้าและจะพัฒนาหมู่บ้าน และศศช. สำนักสงฆ์ในตอนบ่าย
พฤศจิกายน 1.ลอยกระทง จัดกิจกรรมลอยกระทงในหมู่บ้านบริเวณแม่น้ำเตอเลอแฮปาโกล
ธันวาคม 1.วันพ่อแห่งชาติ จัดพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ
เมษายน 1.ทำบุญต้นโพธิ์ 2.เจดีย์ทราย 3.รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ - มีการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระ และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ชาวบ้านจะนำอาหารที่ไม่ได้ทำจากเนื้อสัตว์และขนมหวานต่างๆ และจุดธูปเทียนเพื่อเป็นการบอกกล่าวเจ้าที่ให้คุ้มครองตลอดปีด้วย - ชาวบ้านจะนำไม้ไผ่มาสานเป็นตระแกรงเพื่อที่จะใส่ของ ซึ่งประกอบด้วย ข้าว ขนม ดอกไม้ ผลไม้ต่างๆ อีกทั้งสานตะกร้าน้อยอีก ๔ ใบ เพื่อวางดอกไม้ และเศษด้ายมารวมกัน แล้วจุดเทียน ๒ ดอก ขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ในหมู่บ้านปกปักรักษา คุ้มครองให้ชาวบ้านอยู่ดีมีสุข
เมษายน 1.ว่อฮี(สเดาะเคราะห์ในชุมชน) - มีการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระ และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ชาวบ้านจะนำอาหารที่ไม่ได้ทำจากเนื้อสัตว์และขนมหวานต่างๆ และจุดธูปเทียนเพื่อเป็นการบอกกล่าวเจ้าที่ให้คุ้มครองตลอดปีด้วย - ชาวบ้านจะนำไม้ไผ่มาสานเป็นตระแกรงเพื่อที่จะใส่ของ ซึ่งประกอบด้วย ข้าว ขนม ดอกไม้ ผลไม้ต่างๆ อีกทั้งสานตะกร้าน้อยอีก ๔ ใบ เพื่อวางดอกไม้ และเศษด้ายมารวมกัน แล้วจุดเทียน ๒ ดอก ขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ในหมู่บ้านปกปักรักษา คุ้มครองให้ชาวบ้านอยู่ดีมีสุข
กันยายน 1. ฤดูฝน 2. เห็ดกอไผ่ 3.ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและแบ่งปันเพื่อนบ้าน
เมษายน 1.ทำบุญต้นโพธิ์ 2.เจดีย์ทราย 3.รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ มีการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระ และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ชาวบ้านจะนำอาหารที่ไม่ได้ทำจากเนื้อสัตว์และขนมหวานต่างๆ และจุดธูปเทียนเพื่อเป็นการบอกกล่าวเจ้าที่ให้คุ้มครองตลอดปีด้วย
เมษายน 1.ว่อฮี(สเดาะเคราะห์ในชุมชน) - มีการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระ และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ชาวบ้านจะนำอาหารที่ไม่ได้ทำจากเนื้อสัตว์และขนมหวานต่างๆ และจุดธูปเทียนเพื่อเป็นการบอกกล่าวเจ้าที่ให้คุ้มครองตลอดปีด้วย - ชาวบ้านจะนำไม้ไผ่มาสานเป็นตระแกรงเพื่อที่จะใส่ของ ซึ่งประกอบด้วย ข้าว ขนม ดอกไม้ ผลไม้ต่างๆ อีกทั้งสานตะกร้าน้อยอีก ๔ ใบ เพื่อวางดอกไม้ และเศษด้ายมารวมกัน แล้วจุดเทียน ๒ ดอก ขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ในหมู่บ้านปกปักรักษา คุ้มครองให้ชาวบ้านอยู่ดีมีสุข

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม 1. อากาศเปลี่ยนแปลง 1. อากาศหนาวเกิดโรคทางเดินหายใจ
กุมภาพันธ์ 1อากาศมีการเปลี่ยนแปลง 1.เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
มีนาคม 1.เกิดภัยแล้ง 1.เกิดไฟไหม้ป่า มีควันปกคลุมหมู่บ้านทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจ
เมษายน 1. เกิดภัยแล้ง 1. น้ำแห้ง ไม่เพียงพอต่อการบริโภค
พฤษภาคม 1. เริ่มเข้าฤดูฝน 1. ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น ดินสไลด์ น้ำหลาก 2. เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกเจ้าหน้าที่พ่นควัน
มิถุนายน 1. ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน 2. เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 1. ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ 2. ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม 1.ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี 3. ปลูกข้าวโพด พริก
สิงหาคม 1.ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น
ตุลาคม 1. ฝนตกหนัก 1. ชาวบ้านเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร เช่นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2. น้ำท่วมในพื้นที่การเกษตร ตลิ่งริมแม่น้ำ...พัง แสะพานสัญจรขาด
ตุลาคม เริ่มเข้าฤดูหนาว 1. ชาวบ้านเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร 2.อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก 3.ชาวบ้านเริ่มเก็บพืชผลทางการเกษตร
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็น 1.อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคระบาดทางเดินหายใจ 2.ชาวบ้านนำผลผลิตที่ได้ขนกลับมาไว้ที่บ้าน
กันยายน 1. ฤดูฝน 1.ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและแบ่งปันเพื่อนบ้าน
กันยายน 1. ฤดูฝน 1.ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและแบ่งปันเพื่อนบ้าน
กันยายน 1. ฤดูฝน 1.ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและแบ่งปันเพื่อนบ้าน


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม