สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม -ประเพณีกินข้าวใหม่ -ขึ้นบ้านใหม่/มัดมือบ้านใหม่ -แต่ละบ้านที่เป็นญาติพี่น้องนำข้าวสุกที่หุง(ข้าวใหม่)มารวมกันแล้วกินร่วมกัน กับข้าวที่กินจะเป็น กุ้ง หอย ปู ปลา เต่า อย่างขนมหวานก็จะทำเอง เช่น ขนมบัวลอย สาคู ความสำคัญ เพื่อให้ข้าวที่ได้มากินหมดไม่เร็วเกินไป พอมีกินตลอดทั้งปี พอกินกับทุกคนในบ้านและเหลืออีกพอสำหรับในปีต่อไป -เป็นการรวมตัวของญาติพี่น้องและลูกๆหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้อยู่เย็นเป็นสุขกันทุกคน
กุมภาพันธ์ ประเพณีแต่งงาน -เป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกันพร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกันและพร้อมที่จะเป็นครอบครัว
เมษายน -ประเพณีวันสงกรานต์ (กราบเท้าผู้สูงอายุ) -ทำบุญไหว้เจดีย์ทราย -เป็นการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระและรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้านและญาติพี่น้องต่างบ้าน -ชาวบ้านทุกคนจะขนทรายมาก่อเป็นเจดีย์ทรายที่วัดแล้วจุดธูปเทียนนำน้ำส้มปล่อยรดกองทรายขอพร
พฤษภาคม -ประเพณีมัดมือช้าง -เป็นการมัดมือและขอให้อยู่คู่กับเจ้าของบ้านนานๆ
กรกฏาคม -แห่เทียนเข้าพรรษา -ก่อนวันเข้าพรรษาชาวบ้านและครู นักเรียนในหมู่บ้านร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ นำเทียนจำนำพรรษามาถวายที่สำนักสงฆ์ เมื่อถึงวันเข้าพรรษาจะมีการตักบาตรทำบุญ ในหมู่บ้านจะมาสวดมนต์นั่งสมาธิทุกในเวลา1ทุ่ม
สิงหาคม -วันแม่แห่งชาติ -ในตอนเช้าจัดพระบรมฉายาลักษณ์และสมุดลงนามถวายพระพร เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มาร่วมลงนามถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ร่วมปลูกต้นไม้พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ -ตอนเย็นร่วมกันจุดเทียนชัยถวายพระพรที่ศาลาเอนกประสงค์มอบรางวัลแม่ดีเด่นประจำปี
กันยายน -ประเพณีผูกข้อมือ วัว ควาย (หรือทำขวัญ วัว ควาย) -เป็นการมัดมือเพื่อให้ออกลูกเยอะๆ
พฤศจิกายน -ประเพณีลอยกระทง -จัดกิจกรรมลอยกระทงสายในหมู่บ้านบริเวณแม่น้ำลำห้วยแม่จอผาโด้
ธันวาคม -ส่งเคราะห์หมู่บ้าน -ชาวบ้านจะหาพื้นที่ในการจัดกิจกรรมโดยใช้ที่กว้างนั้นก็คือกลางหมู่บ้านเพื่อเป็นส่วนรวมทำกิจกรรมร่วมกันโดยชาวบ้านจะนำไม้ไผ่มาสานเป็นตะแกรงถี่ๆเพื่อที่จะใช้ใส่ของ ซึ่งประกอบด้วย ข้าว ขนมแห้ง ดอกไม้ และผลไม้ต่างๆ และยังสานตะกร้าน้อยอีก 4 ใบ เพื่อวางดอกไม้ และเศษด้ายมารวมกันแล้วจุดเทียน 2 ดอก ขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ในหมู่บ้านช่วยปกป้องปักรักษาและคุ้มครองให้ชาวบ้านอยู่ดีมีสุข

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
พฤศจิกายน 1.เริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว 1.อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง อากาศเย็น เริ่มเกิดโรคเกี่ยวกับทางเดินระบบหายใจ(หวัดในกลุ่มเด็ก และคนชรา 2.ชาวบ้านเริ่มหยุดพักและกินข้าวใหม่และทำกิจกรรมวันสำคัญในชุมชน

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม -ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ -ประเพณีการแต่งงาน -มีการรวมตัวของลูกหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้ทุกคนอยู่เย็นเป็นสุข -เป็นการแสดงเพื่อให้บอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน และพร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกันจนชีวิตจะหาไม่
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง( ร้อน,หนาว) ฝนตกแล้ว เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก ท้องร่วง อากาศเย็นในตอนเช้า
มีนาคม 1.เกิดภัยแล้ง 2.ฟันไร่ 1.ระดับน้ำในแม่น้ำ....เริ่มลดลง ทำให้ใช้ไฟฟ้าพลังน้ำไม่ได้ 2.ชาวบ้านทำการฟันไร่ของตัวเอง
เมษายน 1. เกิดภัยแล้ง 2. เผาไร่ 3.เริ่มเข้าฤดูฝน 1. น้ำในลำห้วยเริ่มแห้ง ประปาในหมู่บ้านก็ไหลไม่แรง 2.เฝ้าระวังโรคท้องร่วงอย่างเฉียบพลัน 2.ชาวบ้านเผาไร่และทำการเก็บเศษไม้ที่ไหม้ไม่หมดออกจากกองเพื่อเตรียมการหยอดข้าว 3.มีฝนฟ้าคะนอง อากาศแปรป่วน
พฤษภาคม 1. เริ่มเข้าฤดูฝน 2. เกิดพายุฤดูฝน 1. ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2. เวลาเข้าป่าต้องระวังเกี่ยวกับฝนฟ้าอากาศ 3. เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้มาลาเรีย 4.ชาวบ้านมีการหยอดข้าวไร่และทำรั้วล้อมไร่
มิถุนายน 1. ฝนตกหนัก อึ่งอ่างและกบเริ่มออกหากิน 2. เริ่มมีของป่า หน่อไม้ มะตึงยางมากขึ้น 1. ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างและกบมาบริโภค 2. ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า หน่อไม้ มะตึงยาง ไว้บริโภค
กรกฏาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี(ตกกล้า)
สิงหาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน เห็ดโคนปลวกออกดอกใหญ่มาก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนปลวกที่อยู่ตามก่อไผ่เพื่อบริโภคในครอบครัว
ตุลาคม 1.ฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิต เช่นเกี่ยวข้าวในนาปีและข้าวไร่ 2.เก็บพืชไร่ เช่น ฟักทอง มันสำปะหลัง 1.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี และข้าวไร่ 2.ตีข้าวและเก็บผลผลิต
พฤศจิกายน 1.เริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว 1.อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง อากาศเย็น เริ่มเกิดโรคเกี่ยวกับทางเดินระบบหายใจ(หวัดในกลุ่มเด็ก และคนชรา 2.ชาวบ้านเริ่มหยุดพักและกินข้าวใหม่
ธันวาคม -อากาศมีความหนาวเย็น -อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลงเกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก/ผู้สูงอายุ
มกราคม 1.กินข้าวใหม่ -แต่ละบ้านจะเป็นญาติพี่น้องนำข้าวสุกที่หุง(ข้าวใหม่)มารวมกันแล้วกินร่วมกัน กับข้าวที่กินจะเป็น กุ้ง หอย ปู ปลา เต่า อย่างขนมหวานก็จะทำเอง เช่นขนมหวานก็จะทำเอง เช่นขนมบัวลอย สาคู ความสำคัญ เพื่อให้ข้าวที่ได้มากินหมดไม่เร็วเกินไป พอมีกินตลอดปีตลอดทั้งปีพอกินข้าวกับทุกคนในบ้านและเหลืออีกพอสำหรับในปีต่อไป -เป็นการรวมตัวของญาติพี่น้อง และลูกๆหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้อยู่เย็นเป้นสุขกับทุกคน
ธันวาคม -อากาศมีความหนาวเย็นมากบางครั้งอุณหภูมิติดลบ -อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลงเกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก/ผู้สูงอายุ
พฤศจิกายน 1.เริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว 1.อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง อากาศเย็น เริ่มเกิดโรคเกี่ยวกับทางเดินระบบหายใจ(หวัดในกลุ่มเด็ก และคนชรา 2.ชาวบ้านเริ่มหยุดพักและกินข้าวใหม่และทำกิจกรรมวันสำคัญในชุมชน
ตุลาคม 1.ฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิต เช่นเกี่ยวข้าวในนาปีและข้าวไร่ 2.เก็บพืชไร่ เช่น ฟักทอง มันสำปะหลัง ถอนถั่วลิสง พืชผักต่างๆตามฤดูกาล 1.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี และข้าวไร่ 2.ตีข้าวและเก็บผลผลิต
กันยายน เห็ดโคนปลวกออกดอกใหญ่มาก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนปลวกและหน่อไม้ตามป่าที่อยู่ตามก่อไผ่เพื่อบริโภคในครอบครัว
มกราคม 1.กินข้าวใหม 2.ประเพณีส่งนก 3.ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ -แต่ละบ้านจะเป็นญาติพี่น้องนำข้าวสุกที่หุง(ข้าวใหม่)มารวมกันแล้วกินร่วมกัน กับข้าวที่กินจะเป็น กุ้ง หอย ปู ปลา เต่า อย่างขนมหวานก็จะทำเอง เช่นขนมหวานก็จะทำเอง เช่นขนมบัวลอย สาคู ความสำคัญ เพื่อให้ข้าวที่ได้มากินหมดไม่เร็วเกินไป พอมีกินตลอดปีตลอดทั้งปีพอกินข้าวกับทุกคนในบ้านและเหลืออีกพอสำหรับในปีต่อไป -เป็นการรวมตัวของญาติพี่น้อง และลูกๆหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้อยู่เย็นเป้นสุขกับทุกคน ประเพณีส่งนก นำข้าวหลามสิ่งของใหม่ลงในยุ้งข้าว ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ เพื่อทำบุญ สเดาะเคราะห์บ้านเรือน เป็นการเลี้ยงฉลองเพื่อให้ผู้ที่มาร่วมขึ้นบ้านใหม่ขอพรจากผู้ที่มาร่วมให้พร
มกราคม 1.กินข้าวใหม่ -แต่ละบ้านจะเป็นญาติพี่น้องนำข้าวสุกที่หุง(ข้าวใหม่)มารวมกันแล้วกินร่วมกัน กับข้าวที่กินจะเป็น กุ้ง หอย ปู ปลา เต่า อย่างขนมหวานก็จะทำเอง เช่นขนมหวานก็จะทำเอง เช่นขนมบัวลอย สาคู ความสำคัญ เพื่อให้ข้าวที่ได้มากินหมดไม่เร็วเกินไป พอมีกินตลอดปีตลอดทั้งปีพอกินข้าวกับทุกคนในบ้านและเหลืออีกพอสำหรับในปีต่อไป -เป็นการรวมตัวของญาติพี่น้อง และลูกๆหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้อยู่เย็นเป้นสุขกับทุกคน
ธันวาคม -อากาศมีความหนาวเย็น -อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลงเกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก/ผู้สูงอายุ
ธันวาคม -อากาศมีความหนาวเย็น -อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลงเกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก/ผู้สูงอายุ
พฤศจิกายน 1.เริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว 1.อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง อากาศเย็น เริ่มเกิดโรคเกี่ยวกับทางเดินระบบหายใจ(หวัดในกลุ่มเด็ก และคนชรา 2.ชาวบ้านเริ่มหยุดพักและกินข้าวใหม่และทำกิจกรรมวันสำคัญในชุมชน


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม