สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม ทำบุญข้าวใหม่ ชาวบ้านช่วยกันนำข้าวที่เก็บเกี่ยวจากไร่และจากที่นาเอาไปทำบุญใส่บาตรที่เจดีย์
กุมภาพันธ์ -ฮูทำบุญข้าวใหม่ ทำบุญย่า ชาวบ้านช่วยกันนำข้าวที่เก็บเกี่ยวจากที่ไร่ที่นานำเอาไปทำบุญใส่บาตรที่เจดีย์
เมษายน ประเพณีวันสงกรานต์และทำบุญเจดีย์ มีการทำบุญที่เจดีย์และจากนั้นจึงรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุและขอพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เจดีย์ทราย
กรกฏาคม แห่เทียนเข้าพรรษา ก่อนวันเข้าพรรษาชาวบ้านในหมู่บ้านร่วมกับคณะครู นักเรียน นำเทียนจำนำพรรษามาถวายที่สำนักสงฆ์บ้านเกริงปะตีคลี่ เมื่อถึงวันเข้าพรรษาจะมีการตักบาตรทำบุญ พุทธศาสนิกชนในหมู่บ้านจะมาสวดมนต์นั่งสมาธิทุกวันพระตลอดช่วงเข้าพรรษา
สิงหาคม วันแม่แห่งชาติ จัดกิจกรรมวันแม่แห่งชาติ ในศศช.บ้านเกริงปะตีคลี่ ครูได้ให้เด็กนักเรียนเอาดอกมะลิไปให้แม่และก้มกราบแม่เพื่อขอขมาโทษ
ตุลาคม วันออกพรรษา เมื่อถึงวันออกพรรษา ครู นักเรียนและชาวบ้านจะมีการทำบุญ ตักบาตร สวดมนต์
พฤศจิกายน ลอยกระทง จัดกิจกรรมลอยกระทงสายในหมู่บ้านบริเวณลำห้วยท่อหมื่อโกล
ธันวาคม วันพ่อแห่งชาติ จัดกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติในศศช.บ้านเกริงปะตีคลี่

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม -โรคปากเท้าเปื่อยในควาย เล็บควายเป็นแผล ปากเป็นแผล เดินไม่ได้
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและผู้ใหญ่
มีนาคม - เกิดภัยแล้ง - เกิดพายุฤดูร้อน 1. ไม่สามารถใช้น้ำได้ปกติเพราะน้ำในช่วงนี้มีน้อยแต่พอเพียงอยู่บ้าง 2. ในช่วงนี้เป็นช่วงที่ร้อน
พฤษภาคม -เริ่มเข้าฤดูฝน -เกิดพายุฤดูฝน 1. ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2. เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย 3. ถนนหนทางเริ่มไม่สะดวกในการใช้รถใช้ถนน
มิถุนายน - ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน - เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 1. ชาวบ้านหากบเอามาไว้กิน 2. ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค
กรกฏาคม - ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี
สิงหาคม -ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน เห็ดโคนออก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภค
ตุลาคม - เห็ดไข่ห่าน ไข่เหลืองออก - ฝนตกหนัก 1. ชาวบ้านเริ่มเก็บไข่ห่านเอามาไว้บริโภค 2. น้ำท่วมในพื้นที่การเกษตร ตลิ่งริมแม่น้ำพัง
พฤศจิกายน - เริ่มเข้าฤดูหนาว 1. ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี 2. อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและผู้ใหญ่
ธันวาคม -อากาศมีความหนาวเย็น ชาวบ้านเริ่มนำเอาไม้มารวมไว้เพื่อเอามาใช้ก่อผิงไฟ
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและผู้ใหญ่
มีนาคม - เกิดภัยแล้ง - เกิดพายุฤดูร้อน 1. ไม่สามารถใช้น้ำได้ปกติเพราะน้ำในช่วงนี้มีน้อยแต่พอเพียงอยู่บ้าง 2. ในช่วงนี้เป็นช่วงที่ร้อน
พฤศจิกายน - เริ่มเข้าฤดูหนาว 1. ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี 2. อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและผู้ใหญ่
พฤศจิกายน - เริ่มเข้าฤดูหนาว 1. ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี 2. อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและผู้ใหญ่

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม