สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม -ขึ้นบ้านใหม่/มัดมือบ้านใหม่ -ประเพณีแต่งงาน -เป็นการรวมตัวของลูกหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้อยู่เย็นเป็นสุข -เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่เสร็จจากการทำไร่ทำนา ว่างจากการทำงาน อีกทั้งเป็นการบ่งบอกว่าผู้แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกัน และพร้อมที่จะเป็นครอบครัว
เมษายน -วันสงกรานต์ -ชาวบ้านถือเป็นวัฒนธรรมหนึ่งของชุมชนเนื่องจากลูกหลานที่จากไปไกลเช่นไปเรียนหนังสือ ไปทำงานในเมือง กลับมารดน้ำ ดำหัวผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่มัดมือให้ศีลให้พรกับลูกหลาน
พฤษภาคม -มัดมือ (กี่จือลาขุ) มีการมัดมือให้กับบุตรหลานทุกครัวเรือน มีการเชิญผู้ใหญ่ที่มีอายุมากที่สุดในบ้านมัดมืออวยพรให้กับบุตรหลาน
กรกฏาคม -เลี้ยงผีไร่ ผีนา (แสะขึแสะจิ) เป็นพิธีไหว้ เลี้ยงผีไร่ ผีนา เพื่อขอให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่เพาะปลูกไว้มีความอุดมสมบูรณ์ ผลผลิตเจริญงอกงาม อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงผี -เหล้า 2 ขวด -ไก่ 2 ตัว - ด้าย เสื้อ 1 ตัว - ข้าวต้มมัด แดกงา (เหม่โต้ปิ)
สิงหาคม -เลี้ยงผีไร่ ผีนา (แสะขึแสะจิ) เป็นพิธีไหว้ เลี้ยงผีไร่ ผีนา เพื่อขอให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่เพาะปลูกไว้มีความอุดมสมบูรณ์ ผลผลิตเจริญงอกงาม อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงผี -เหล้า 2 ขวด -ไก่ 2 ตัว - ด้าย เสื้อ 1 ตัว - ข้าวต้มมัด แดกงา (เหม่โต้ปิ)
ธันวาคม ส่งเคราะห์หมู่บ้าน (ว่อฮิ) ชาวบ้านจะนำไม้ไผ่มาสานเป็นตระแกรงเพื่อที่จะใส่ของ ซึ่งประกอบด้วย ข้าว ขนม ดอกไม้ ผลไม้ต่าง ๆ อีกทั้งเศษด้ายมารวมกัน แล้วจุดเทียน 2 ดอก ขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ในหมู่บ้านปกปักรักษาคุ้มครองให้ชาวบ้านอยู่ดีมีสุข

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม 1. โรคอหิวาต์ไก่ (โรคขี้ขาว) 2. โรคปากเท้าเปื่อยในวัว 1.ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย 2. เล็บวัวเป็นแผล ปากเป็นแผล เดินไม่ได้
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
มีนาคม เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในแม่น้ำ....เริ่มลดลง ไม่สามารถสูบน้ำเข้าพื้นที่การเกษตรได้
เมษายน 1. เกิดภัยแล้ง 2. เกิดพายุฤดูร้อน 1. ไม่สามารถสูบน้ำจากแม่น้ำ.....เข้าพื้นที่การเกษตรได้ 2. ทำให้ไม้สวน (ต้นลำไย) หักล้ม สร้างความเสียหายในพื้นที่ทางการเกษตร
พฤษภาคม 1.เริ่มเข้าฤดูฝน 2. เกิดพายุฤดูฝน 1.ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2.ทำให้ต้นลำไยหักล้ม สร้างความเสียหายในการเกษตร 3. เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก
มิถุนายน 1.ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน 2. เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 1.ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ 2.ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี
สิงหาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน เห็ดโคนออก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
ตุลาคม 1. เห็ดไข่ห่าน ไข่เหลืองออก 2. ฝนตกหนัก 1. ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายเห็ดไข่ห่าน ไข่เหลือง 2. น้ำท่วมในพื้นที่การเกษตร ตลิ่งริมแม่น้ำพัง
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาว อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็น 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม อาชีพถางไร่ ถางไร่ตัดต้นไม้ในไร่
มกราคม 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี
กุมภาพันธ์ 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี
มีนาคม 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี
เมษายน 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี
พฤษภาคม 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี 1.ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2.ทำให้ต้นลำไยหักล้ม สร้างความเสียหายในการเกษตร 3. เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก
มิถุนายน 1.ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน 2. เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 1.ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ 2.ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี
สิงหาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน เห็ดโคนออก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
ตุลาคม 1. เห็ดไข่ห่าน ไข่เหลืองออก 2. ฝนตกหนัก
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาว อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็น 1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม