สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม ขึ้นบ้านใหม่/มัดมือบ้านใหม่ เป็นการรวมตัวของลูกหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้อยู่เย็นเป็นสุข
มกราคม ประเพณีแต่งงาน เป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกันและพร้อมที่จะเป็นครอบครัวเดียวกัน
เมษายน ประเพณีวันสงกรานต์ วันที่ ๑๓ ทำบุญตักบาตรในตอนเช้า วันที่ ๑๔ ทำการนำอาหารให้ญาติผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในหมู่บ้าน วันที่ ๑๕ ทำการรดน้ำดำหัวให้กับผู้ใหญ่และพ่อแม่ของตนเอง
กรกฏาคม เลี้ยงผีไร่/ผีนา (แสะคื่อ,แสะจี่,เกาะอ๊อกโทะ) เป็นพิธีเลี้ยงผีไร่ ผีนา เพื่อขอให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่เพาะปลูกไว้มีความเจริญงอกงาม และไม่มีอุปสรรค์ใดๆในการทำงานตลอดทั้งปี อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงผี -เหล้า 2ขวด -ไก่ 2 ตัว -ด้าย เสื้อ 1 ตัว -ข้าวต้มมัด
ธันวาคม ส่งเคราะห์หมู่บ้าน (ว่อฮี) ชาวบ้านจะนำไม้ไผ่มาสานเป็นตะแกรงเพื่อใส่ของหรือเครื่องเซ่น ซึ่งประกอบด้วย ข้าว ขนม ดอกไม้ ผลไม้ต่างๆอีกทั้งสานตะกร้าน้อยอีก ๔ ใบ เพื่อวางดอกไม้ และเศษด้ายมารวมกัน แล้วจุดเทียน ๒ ดอก ขอขมาสิ่งศักดิ์ที่อยู่ในหมู่บ้านให้ปกปักรักษาให้คุ้มครองชาวบ้านให้อยู่เย็นเป็นสุข

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
กุมภาพันธ์ -อากาศมีการเปลี่ยนแปลง(หนาวเย็น) -เก็บผลผลิตทางการเกษตร - เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ - เก็บมันสำปะหลังขาย
มีนาคม -อากาศมีการเปลี่ยนแปลง (ร้อน) -เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ
เมษายน -เกิดภัยแล้ง -ปลูกมันสำปะหลัง -ระดับน้ำในลำห้วยเริ่มลดลง ไม่สามารถทำการเกษตรได้เท่าที่ควร -เริ่มทำการปลูกมันสำปะหลัง
พฤษภาคม เริ่มเข้าฤดูฝนและเกิดพายุฤดูฝน -ฝนตกทำให้ดินเกิดความชุมชื้น -ดินถล่ม สไลด์ สร้างความเสียหายแก่ที่ดินทำกินและการคมนาคม -มีการเฝ้าระวังการระบาดของไข้เลือดออก
มิถุนายน มีของป่ามากขึ้น(หน่อไม้) -มีการเก็บของป่าเพื่อไว้บริโภคและนำออกจำหน่ายเป็นรายได้เสริม -ชาวบ้านเริ่มมีการทำไร่ทำนา ทำไร่ข้าวโพดเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
กรกฏาคม -ฤดูฝน -พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น -ชาวบ้านเริ่มมีการทำไร่ทำนา ทำไร่ข้าวโพดเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
สิงหาคม -ฤดูฝน -พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น -ชาวบ้านเริ่มมีการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าวไร่ และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ -มีการเก็บของป่าไว้บริโภคและขายเป็นรายได้
กันยายน เห็ดโคน/เห็ดเผาะ/เห็ดภูเขาเริ่มออก -โรคอหิวาไก่ (โรคขี้ขาว -ชาวบ้านออกเก็บเห็ดชนิดต่างๆเพื่อการบริโภค -ไก่มีอาการหนาว เฉา หน้าบวม และตาย -เก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรและออกจำหน่าย
ตุลาคม -ฤดูฝน -เก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรและออกจำหน่าย เช่นข้าวไร่/ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
พฤศจิกายน เริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว -ชาวบ้านเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร -อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและผู้สูงอายุ
ธันวาคม -อากาศหนาวเย็นมาก อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและผู้สูงอายุ

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม อากาศมีการเปลี่ยนแปลงหนาวเย็นมากขึ้น เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ
กุมภาพันธ์ -อากาศมีการเปลี่ยนแปลง(หนาวเย็น) -เก็บผลผลิตทางการเกษตร -เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ -เก็บมันสำปะหลังขาย
มีนาคม -อากาศมีการเปลี่ยนแปลง (ร้อน) -เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ
เมษายน -เกิดภัยแล้ง -ปลูกมันสำปะหลัง -ระดับน้ำในลำห้วยเริ่มลดลง ไม่สามารถทำการเกษตรได้เท่าที่ควร -เริ่มทำการปลูกมันสำปะหลัง
พฤษภาคม -เริ่มเข้าฤดูฝนและเกิดพายุฤดูฝน -ฝนตกทำให้ดินเกิดความชุมชื้น -ดินถล่ม สไลด์ สร้างความเสียหายแก่ที่ดินทำกินและการคมนาคม -มีการเฝ้าระวังการระบาดของไข้เลือดออก
มิถุนายน -มีของป่ามากขึ้น(หน่อไม้) -มีการเก็บของป่าเพื่อไว้บริโภคและนำออกจำหน่ายเป็นรายได้เสริม -ชาวบ้านเริ่มมีการทำไร่ทำนา ทำไร่ข้าวโพดเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
กรกฏาคม -ฤดูฝน -พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น -ชาวบ้านเริ่มมีการทำไร่ทำนา ทำไร่ข้าวโพดเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
สิงหาคม -เห็ดโคน/เห็ดเผาะ/เห็ดภูเขาเริ่มออก -โรคอหิวาไก่ (โรคขี้ขาว) -ชาวบ้านออกเก็บเห็ดชนิดต่างๆเพื่อการบริโภค -ไก่มีอาการหนาว เฉา หน้าบวม และตาย -เก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรและออกจำหน่าย
พฤศจิกายน เริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว -ชาวบ้านเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร -อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและผู้สูงอายุ


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม