สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม ขึ้นบ้านใหม่/มัดมือบ้านใหม่ -ประเพณีแต่งงาน -เป็นการรวมตัวของลูกหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้อยู่เย็นเป็นสุข -เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่เสร็จจากการทำไร่ทำนา ว่างจากการทำงาน อีกทั้งเป็นการบ่งบอกว่าผู้แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกัน และพร้อมที่จะเป็นครอบครัว
เมษายน วันสงกรานต์ -ชาวบ้านถือเป็นวัฒนธรรมหนึ่งของชุมชนเนื่องจากลูกหลานที่จากไปไกลเช่นไปเรียนหนังสือ ไปทำงานในเมือง กลับมารดน้ำ ดำหัวผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่มัดมือให้ศีลให้พรกับลูกหลาน
พฤษภาคม -มัดมือ (กี่จือลาขุ) มีการมัดมือให้กับบุตรหลานทุกครัวเรือน มีการเชิญผู้ใหญ่ที่มีอายุมากที่สุดในบ้านมัดมืออวยพรให้กับบุตรหลาน
กรกฏาคม -เลี้ยงผีไร่ ผีนา (แสะขึ แสะจิ) -เลี้ยงผีไร่ ผีนา (แสะขึ แสะจิ)
ธันวาคม -เลี้ยงผีไร่ ผีนา (แสะขึ แสะจิ ชาวบ้านจะนำไม้ไผ่มาสานเป็นตระแกรงเพื่อที่จะใส่ของ ซึ่งประกอบด้วย ข้าว ขนม ดอกไม้ ผลไม้ต่าง ๆ อีกทั้งเศษด้ายมารวมกัน แล้วจุดเทียน 2 ดอก ขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ในหมู่บ้านปกปักรักษาคุ้มครองให้ชาวบ้านอยู่ดีมีสุข

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม 1. โรคอหิวาต์ไก่ (โรคขี้ขาว) 2. อากาศเปลี่ยนแปลง (หนาวเย็น) 1.ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย 2. เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก/ผู้สูงอายุ
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง(หนาวเย็น) เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
กุมภาพันธ์ เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
มีนาคม เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
เมษายน เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก ไม่สามารถสูบน้ำจากแม่น้ำ.....เข้าพื้นที่การเกษตรได้ 2. ทำให้ไม้สวน (ต้นลำไย) หักล้ม สร้างความเสียหายในพื้นที่ทางการเกษตร
พฤษภาคม 1.เริ่มเข้าฤดูฝน 2. เกิดพายุฤดูฝน 1.ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2.ดินถล่ม สไลด์ สร้างความเสียหายแก่ที่ดินทำกิน และการเดินทางลำบาก และสร้างความเสียหายในการเกษตร 3. เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้มาลาเรีย
มิถุนายน 1.ฝนตกหนัก เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 1.ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปีข้าวไร่
สิงหาคม ฤดูฝน . พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2.ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กันยายน เห็ดโคนออกเห็ดไข่ห่าน ไข่เหลืองออก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
ตุลาคม 1. เห็ดไข่ห่าน ไข่เหลืองออก 2. ฝนตกหนัก 1. ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายเห็ดไข่ห่าน ไข่เหลือง 2. น้ำท่วมในพื้นที่การเกษตร ตลิ่งริมแม่น้ำพัง
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาว อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก 1.อากาศเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจเฉพาะกลุ่มเด็ก/ผู้สูงอายุ 2. ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม 1. โรคอหิวาต์ไก่ (โรคขี้ขาว) 2. อากาศเปลี่ยนแปลง (หนาวเย็น 1.ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย 2. เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก/ผู้สูงอายุ
กุมภาพันธ์ เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
กุมภาพันธ์ เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม