สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
สิงหาคม ทำพิธีมัดมือครอบครัวประจำทุกปี โดยหัวหน้าคอบครัวเชิญผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านมาทำพิธีมัดมือให้กับคนในครอบครัวนั้นทุกคน ในพิธีมีไก่ และเหล้า
มิถุนายน ปีใหม่ทางปกาญอหรือที่เรียกว่า ฮิซอโคะ ชาวบ้านที่นับถือผีที่มีความเชื่อทางสายนี้ ในเดือนนี้ชาวบ้าน 1 ครัวเรือนจะมาประกอบ พิธีกรรม 1 คน มาร่วมกับหมอผีในวันนั้น วันที่กำหนดขึ้นมา แล้ววันรุ่งขึ้นทุกครัวเรือน จะมัดมือเรียกขวัญ
กันยายน การเลี้ยงผีนาผีไร่ หลังจากที่ ทำนาทำไร่เสร็จแล้ว ชาวบ้านจะนำไก่ เหล้าต้ม ข้าวหัว เครื่องเซ่น ไหว้ต่างๆ เพื่อที่จะประกอบพิธีกรรม

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม 1. อากาศมีการเปลี่ยนแปลง 2. ชาวบ้านเริ่มจับจองพื้นที่ในการทำไร่ 1. เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก 2. ชาวบ้านจะเริ่มไปจองที่ที่จะทำไร่เพื่อทำการเพาะปลูก
กุมภาพันธ์ ถางไร่เพื่อทำการเกษตร ชาวบ้านจะเริ่มไปจองที่ที่จะทำไร่เพื่อทำการเพาะปลูก
กุมภาพันธ์ ถางไร่ ชาวบ้านเริ่มถางไร่
มีนาคม ปลายเดือนเริ่มเผาไร่ ชาวบ้านเริ่มเผาไร่ ทำให้เกิดหมอกควัน และมีอากาศร้อนอบอ้าว
พฤษภาคม 1.เริ่มเข้าฤดูฝน 2. เกิดพายุฤดูฝน 1.ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2.ทำให้ต้นลำไยหักล้ม สร้างความเสียหายในการเกษตร 3. เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก
มิถุนายน . เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น และหาพืชผักต่างๆ 1.ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ 2.ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี
สิงหาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน เห็ดโคนออก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภค
ตุลาคม หน่อไม้ ชาวบ้านจะเก็บหน่อไม้เพื่อบริโภค และเก็บไว้ดองไว้บริโภคในช่วงหน้าแล้ง
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาว 1. ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2. ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
เมษายน ประเพณีวันสงกรานต์ ชาวบ้านจะขอพรน้ำดำหัวให้กับผู้ใหญ่ ถือเป็นวันปีใหม่ และสรงน้ำพระเข้าวัดทำบุญตักบาตร
พฤษภาคม เลี้ยงผีนา เลี้ยงผีไร่ ชาวบ้านจะนำไก่ เหล้าต้ม ข้าวหัว เครื่องเซ่น ไหว้ต่างๆ เพื่อที่จะประกอบพิธีกรรม
มกราคม 1. อากาศมีการเปลี่ยนแปลง 2. ชาวบ้านเริ่มจับจองพื้นที่ในการทำไร่ 1. เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก 2. ชาวบ้านจะเริ่มไปจองที่ที่จะทำไร่เพื่อทำการเพาะปลูก
กุมภาพันธ์ 1. อากาศมีการเปลี่ยนแปลง 2. ถางไร่ 1. เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก 2. ชาวบ้านเริ่มถางไร่
มีนาคม 1. ถางไร่ 2. ปลายเดือนเริ่มเผาไร่ 1. ชาวบ้านเริ่มถางไร่ 2. ชาวบ้านเริ่มเผาไร่ ทำให้เกิดหมอกควัน และมีอากาศร้อนอบอ้าว
เมษายน 1. เกิดภัยแล้ง 2. เกิดพายุฤดูร้อน 1. ไม่สามารถสูบน้ำจากแม่น้ำ.....เข้าพื้นที่การเกษตรได้ 2. ทำให้ไม้สวน (ต้นลำไย) หักล้ม สร้างความเสียหายในพื้นที่ทางการเกษตร
พฤษภาคม 1.เริ่มเข้าฤดูฝน 2. เกิดพายุฤดูฝน 1.ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2.ทำให้ต้นลำไยหักล้ม สร้างความเสียหายในการเกษตร 3. เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก
มิถุนายน 1.ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน 2. เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น และหาพืชผักต่างๆ 1.ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ 2.ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม -ฤดูฝน -เกิดโรคมาลาเรีย 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี 3.คนในชุมชนทุกคนสามารถเป็นโรคมาลาเรียได้ ถ้าไม่มีการป้องกัน
สิงหาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน เห็ดโคนออก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภค
ตุลาคม หน่อไม้ ชาวบ้านจะเก็บหน่อไม้เพื่อบริโภค และเก็บไว้ดองไว้บริโภคในช่วงหน้าแล้ง
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาว อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็น 1. ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2. ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี
กุมภาพันธ์ 1. อากาศมีการเปลี่ยนแปลง 2. ถางไร่ 1. เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก 2. ชาวบ้านเริ่มถางไร่


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม