สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม เลี้ยงผีบ้าน ชาวบ้านร่วมกันจัดพิธีเลี้ยงผีหมู่บ้าน มีผู้นำและชาวบ้านนำไก่ หมูมาทำพิธีเลี้ยงผี เพื่อให้คนในชุมชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและมีความสุข
กุมภาพันธ์ - -
มีนาคม - -
เมษายน มัดมือปีใหม่ จัดกิจกรรมมัดมือปีใหม่เพื่อเป็นการเรียกขวัญทั้งหมู่บ้าน
พฤษภาคม - -
มิถุนายน - -
กรกฏาคม เลี้ยงผีไร่ ชาวบ้านจะร่วมกันเลี้ยงผีไร่ นำหมูหรือไก่มาร่วมกัน เพื่อผลผลิตที่ออกมาจะได้มาก
สิงหาคม - -
กันยายน - -
ตุลาคม เรียกขวัญ ชาวบ้านจะทำพิธีมัดมือในหมู่บ้านเพื่อเป็นการเรียกขวัญคนในหมู่บ้านให้กลับคืนมา เพื่อให้คนในหมู่บ้านอยู่อย่างมีความสุข
พฤศจิกายน เลี้ยงผีไร่ผีนา ก่อนการเก็บเกี่ยวผลผลิต ชาวบ้านจะต้องเลี้ยงผีก่อนเพราะเป็นความเชื่ออย่างหนึ่งว่าหากเลี้ยงผีไร่ผีนาแล้วจะทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
ธันวาคม - -

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม ค้าขาย ชาวบ้านเปิดร้านขายของในหมู่บ้านของตนเอง
กุมภาพันธ์ รับจ้างภาคการเกษตร คนที่ว่างจากการทำงานของตนเองก็ไปรับจ้างคนอื่น
กุมภาพันธ์ ค้าขาย รับจ้างภาคการเกษตร รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) ถางไร่เพื่อทำการเกษตร จักสานไม้ไผ่ เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) ทอผ้า ขายของในชุมชน รับจ้างในชุมชน รับจ้างนอกชุมชน ถางไร่เพื่อเตรียมเพาะปลูก สานตะกร้า กระด้ง กือ เลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ ทอผ้าในเวลาว่าง
มีนาคม ค้าขาย รับจ้างภาคการเกษตร รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) ถางไร่เพื่อทำการเกษตร จักสานไม้ไผ่ ทอผ้า เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) ขายชองในชุมชน รับจ้างในชุมชน รับจ้างนอกชุมชน ถางไร่เพื่อเตรียมปลกพืช จักสานในเวลาว่าง ทอผ้าในเวลาว่าง เลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ
พฤษภาคม ค้าขาย รับจ้างภาคการเกษตร รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) ปลูกข้าวไร่ ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) ตีผึ้ง เก็บน้ำผึ้ง จักสานไม้ไผ่ เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) ทอผ้า ค้าขายตลอดปี รับจ้างในชุมชน รับจ้างในเมือง ปลูกข้าวในไร่ ปลูกพืชผักสวน เก็บน้ำผึ้งในชุมชน สานตะกร้าจากไม้ไผ่ เลี้ยงสัตว์ในชุมชน ทอผ้าในเวลาว่าง
มิถุนายน ค้าขาย รับจ้างภาคการเกษตร รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) ปลูกข้าวไร่ ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) หาหน่อไม้ เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) ทอผ้า ปลูกข้าวโพด ค้าขายและรับจ้างในชุมชนและนอกชุมชน ปลูกข้าวไร่ ปลูกพืชสวนครัวและปลูกข้าวโพด หาหน่อไม้เพื่อนำมาบริโภค
กรกฏาคม ค้าขาย เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) หาหน่อไม้ ทอผ้า รับจ้างภาคการเกษตร ขายของในชุมชน เลี้ยงสัตว์เสริมโปรตีน รับจ้างในชุมชน รับจ้างในเมือง
สิงหาคม ค้าขาย รับจ้างภาคการเกษตร รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) ทอผ้า หาหน่อไม้ ขายของตลอดทั้งปี รับจ้างในเมือง รับจ้างในชุมชน
กันยายน ค้าขาย รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) ทอผ้า ขายของตลอดทั้งปี รับจ้างในเมือง เลี้ยงสัตว์เสริมโปรตีนและเป็นรายได้เสริม ทอผ้ากะเหรี่ยงในเวลาว่าง
ตุลาคม ค้าขาย รับจ้างภาคการเกษตร รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) ทอผ้า ขายของในชุมชนตลอดทั้งปี รับจ้างในชุมชน รับจ้างในเมือง ชาวบ้านเกี่ยวข้าวไร่และตีข้าว
พฤศจิกายน ค้าขาย รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) ทอผ้า รับจ้างในเมือง เกี่ยวข้าวในไร่และตีข้าว
ธันวาคม ค้าขาย รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) ทอผ้า ขายของในชุมชน รับจ้างในเมือง ชาวบ้านเกี่ยวข้าวและตีข้าว เลี้ยงสัตว์เป็นอาชีพเสริม ทอผ้าไว้ใส่ในครัวเรือน

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม 1. โรคอหิวาต์ไก่ (โรคขี้ขาว) 2. โรคปากเท้าเปื่อยในวัว 1.ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย 2. เล็บวัวเป็นแผล ปากเป็นแผล เดินไม่ได้
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
มีนาคม เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในแม่น้ำ....เริ่มลดลง ไม่สามารถสูบน้ำเข้าพื้นที่การเกษตรได้
เมษายน 1. เกิดภัยแล้ง 2. เกิดพายุฤดูร้อน 1. ไม่สามารถสูบน้ำจากแม่น้ำ.....เข้าพื้นที่การเกษตรได้ 2. ทำให้ไม้ผล (ต้นลำไย) หักล้ม สร้างความเสียหายในพื้นที่ทางการเกษตร
พฤษภาคม 1. เริ่มเข้าฤดูฝน 2. เกิดพายุฤดูฝน 1.ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2.ทำให้ต้นลำไยหักล้ม สร้างความเสียหายในการเกษตร 3.เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก
มิถุนายน 1.ฝนตกหนัก กบเริ่มออกหากิน 2.เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 1.ชาวบ้านหาจับกบมาบริโภคและขายเป็นรายได้ 2.ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม ฤดูฝน ชาวบ้านเริ่มไถนา 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มปลูกข้าวในนา
สิงหาคม ฤดูฝน ถางหญ้าในไร่ในนา 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านปลูกข้าวในา และดายหญ้าในไร่ในนา
กันยายน 1.ฤดูฝน 2.ถางหญ้าในนาในไร่ 1.พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2.ชาวบ้านถางหญ้าในนาข้าวและไร่ข้าว
ตุลาคม 1.ฤดูหนาว 2.เก็บเกี่ยวผลผลิต 1.พื้นที่การเกษตรมีความเขียวสด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวไร่และเก็บเกี่ยวข้าวโพด
พฤศจิกายน เข้าสู่ฤดูหนาว ชาวบ้านมีการทอผ้า อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็น ชาวบ้านเก็บเกี่ยวผลผลิต 1. ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2. ชาวบ้านเกี่ยวข้าวในนา


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม