สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
กุมภาพันธ์ 1. กี้จืฮิซอโค๊ะ(มัดมือทำบ้านใหม่เสร็จประจำปี) ชาวบ้านร่วมกันทั้งหมู่บ้านมัดมือในวันเดียวกันโดยจะมัดมือเรียกขวัญกันในบ้านของใครของมันแต่ละบ้านจะมีการทำไก่และหมูเป็นอาหาร และยังมีการเชิญหมู่บ้านข้างเคียงมาร่วมในการมัดมือพร้อมกับดืมเหล้ากินข้าวกัน
พฤษภาคม .ลื้อขึ(เลี้ยงผีไร่ประจจำปี ชาวบ้านจะมีการไปทำพิธีเลี้ยงผีที่ไร่ของใครของมันแต่ละบ้านจะเลี้ยงผีไร่ไม่พร้อมกัน บางบ้านจะเลี้ยงด้วยไก่บางบ้านจะเลี้ยงหมู และจะมีการชวนคนเฒ่าคนแก่กับเพื่อนบ้านไปทำพิธี
สิงหาคม อ้อลาขุ(มัดมือเดือนแปดประจำปี) ชาวบ้านจะร่วมกันมัดมือเรียกขวัญในวันเดียวกันโดยทุกบ้านในหมู่บ้านจะตื่นแต่เช้าในวันนั้นมีการประกอบอาหารไว้เพี่อรอคนอาวุโสในหมู่บ้านทำพิธิมัดมือเรียกขวัญ โดยคนอาวุโสจะตระเวณไปให้ครบทุกบ้านในหม
2. ประเพณีวันสงกรานต์ ชาวบ้านจะมีการต้มน้ำขมิ้นนส้มป่อยแล้วจะมีการสระผมที่บ้านใครบ้านมันจะสระผมกันเฉพาะคนทีมีคู่สามีภรรยา

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม อากาศมีการเปลี่ยนแปลง เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
กุมภาพันธ์ 1.อากาศมีการเปลี่ยนแปลง 2.มีการถางไร่ เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก ป่าถูกทำลาย
มีนาคม เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในห้วยเริ่มลดลง
เมษายน เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในห้วยเริ่มลดลง
พฤษภาคม .เริ่มเข้าฤดูฝน เกิดพายุฤดูฝน .ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น .ทำให้ใบไม้ในป่าเริ่มเขียว
มิถุนายน ฝนตกหนัก หญ้าเริ่มขึ้นตามบริเวณที่โล่ง เขียดเริ่มออก 2. เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 3.มีการหยอดข้าวในไร่ ชาวบ้านหาจับเขียด 2.ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้ 3.ชาวบ้านมีการหยอดข้าวไร่ และเริ่มมีการหยอดเมล็ดพืชผักต่าง
สิงหาคม 1.ฤดูฝน 2.พิธีเลี้ยงผีไร่ 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2.ชาวบ้านเริ่มมีการเลี้ยงผีไร่ตามไร่ของใครของมัน 3. ชาวบ้านเริ่มทำนาปี
กันยายน 1.เห็ดโคนออก 2.ฝนตกมากขึ้น ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภค ห้วยเล็กๆตามป่าเริ่มน้ำไหลและห้วยแม่อุคออเริ่มมีปริมาณมากขึ้น
ตุลาคม .ฝนตกหนัก น้ำในห้วยมีปริณมาก
พฤศจิกายน 1.เริ่มเข้าฤดูหนาว 2.มีการเก็เกี่ยว 1.อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง 2.เกิดโรคหวัดโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก 2.ชาวบ้านเริ่มทำการเกี่ยวข้าวไร่,นา
ธันวาคม 1.อากาศมีความหนาวเย็น 2.แบกข้าว 1.ริมฝีปากชาวบ้านแตก ก่อผิงในตอนเช้ามืดเป็นกลุ่มๆ 2.ชาวบ้านไปแบกข้าวที่ตีเสร็จแล้วมาไวที่บ้า(โดยจมีการช่วยกันแบกให้แล้วเสสร็จเป็นบ้านๆไป

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม อากาศมีการเปลี่ยนแปลงชาวบ้านแบกข้าวที่ทำเสร็จแล้วมาที่บ้าน เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
กุมภาพันธ์ 1.อากาศมีการเปลี่ยนแปลง 2.มีการถางไร่ เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก ป่าถูกทำลาย
มีนาคม เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในห้วยเริ่มลดลง
เมษายน เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในห้วยเริ่มลดลง
พฤษภาคม 1.เริ่มเข้าฤดูฝน 2. เกิดพายุฤดูฝน 1.ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2.ทำให้ใบไม้ในป่าเริ่มเขียว
มิถุนายน 1.ฝนตกหนัก หญ้าเริ่มขึ้นตามบริเวณที่โล่ง เขียดเริ่มออก 2. เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 3.มีการหยอดข้าวในไร่ 1.ชาวบ้านหาจับเขียด 2.ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้ 3.ชาวบ้านมีการหยอดข้าวไร่ และเริ่มมีการหยอดเมล็ดพืชผักต่าง
กรกฏาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี
สิงหาคม 1.ฤดูฝน 2.พิธีเลี้ยงผีไร่ 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2.ชาวบ้านเริ่มมีการเลี้ยงผีไร่ตามไร่ของใครของมัน 3. ชาวบ้านเริ่มทำนาปี
กันยายน 1.เห็ดโคนออก 2.ฝนตกมากขึ้น ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภค ห้วยเล็กๆตามป่าเริ่มน้ำไหลและห้วยแม่อุคออเริ่มมีปริมาณมากขึ้น
ตุลาคม .ฝนตกหนัก 2.น้ำในห้วยมีปริณมาก
พฤศจิกายน .เริ่มเข้าฤดูหนาว 2.มีการเก็เกี่ยว 1.อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง 2.เกิดโรคหวัดโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก 2.ชาวบ้านเริ่มทำการเกี่ยวข้าวไร่,นา
ธันวาคม 1.อากาศมีความหนาวเย็น 2.แบกข้าว 1.ริมฝีปากชาวบ้านแตก ก่อผิงในตอนเช้ามืดเป็นกลุ่มๆ 2.ชาวบ้านไปแบกข้าวที่ตีเสร็จแล้วมาไวที่บ้า(โดยจมีการช่วยกันแบกให้แล้วเสสร็จเป็นบ้านๆไป


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม