สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
กุมภาพันธ์ - ขึ้นบ้านใหม่ - ประเพณีแต่งงาน - มีการประกอบพิธีขึ้นบ้านใหม่เพื่อให้ผู้คนในบ้านอยู่เย็นเป็นสุข - เป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกัน และพร้อมที่จะเป็นครอบครัว
มกราคม วัฒนธรรมประเพณี - ขึ้นบ้านใหม่/มัดมือบ้านใหม่ - ประเพณีแต่งงาน ลักษณะวัฒนธรรมประเพณี - เป็นการรวมตัวของลูกหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้อยู่เย็นเป็นสุข - เป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกัน และพร้อมที่จะเป็นครอบครัว
มีนาคม
เมษายน - มัดมือหมู่บ้าน - ประเพณีวันสงกรานต์ - เป็นการมัดมือประจำปีของคนในหมู่บ้านทุกคนโดยจะทำปีละ1ครั้ง - มีการรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน และเล่นสาดน้ำในหมู่บ้าน
กรกฏาคม เลี้ยงผีไร่ ผีนา (แสะคื่อ ) - เป็นพิธีไหว้ เลี้ยงผีไร่ ผีนา เพื่อขอให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่เพาะปลูกไว้มีความเจริญงอกงาม อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงผี เหล้า ๒ ขวด ไก่ ๒ ตัว ด้าย เสื้อ ๑ ตัว ข้าวต้มมัด - แดกงา (หมี่โต๊ะป่า)
ธันวาคม ส่งเคราะห์หมู่บ้าน ( ว่อฮี ) - ชาวบ้านจะนำไม้ไผ่มาสานเป็นตระแกรงเพื่อที่จะใส่ของ ซึ่งประกอบด้วย ข้าว ขนม ดอกไม้ ผลไม้ต่างๆ อีกทั้งสานตะกร้าน้อยอีก ๔ ใบ เพื่อวางดอกไม้ และเศษด้ายมารวมกัน แล้วจุดเทียน ๒ ดอก ขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ในหมู่บ้านปกปักรักษา คุ้มครองให้ชาวบ้านอยู่ดีมีสุข

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม ค้าขาย ข้าวโพด,มันสัปหลัง
มกราคม -ค้าขาย -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -ทอผ้า -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -ข้าวโพด,มันสัปหลัง -ถางหญ้าเพืออทำการเกษร เตรียมพื้นที่ปลูกข้าว -ทอผ้าใช้เอง -เลี้ยงสัตว์พื้นบ้านเพื่อบริโภคและประกอบพิธี
กุมภาพันธ์ รับจ้าง รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง)
มีนาคม -ถางไร่ -รับจ้าง -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -รับจ้างภาคการเกษตร
มิถุนายน -ค้าขาย -ถางไร่ -ปลูกข้าวไร่ -ปลูกพืชสวน -หาหน่อไม้ -ปลูกมันสำปะหลัง -ปลูกอ้อย -ทอผ้า -เลี้ยงสัตว์ -ค้าขาย -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -ปลูกข้าวไร่ -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -หาหน่อไม้ -ปลูกมันสำปะหลัง -ปลูกอ้อย -ทอผ้า -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ)
กรกฏาคม -ค้าขาย -ถางไร่ -ปลูกข้าวไร่ -ปลูกพืชสวน -หาหน่อไม้ -ปลูกมันสำปะหลัง -ปลูกอ้อย -ทอผ้า -หาเห็ด -เลี้ยงสัตว์ -ค้าขาย -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -ปลูกข้าวไร่ -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -หาหน่อไม้ -ปลูกมันสำปะหลัง -ปลูกอ้อย -ทอผ้า -หาเห็ดโคน/เห็ดเถาะ -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ)
สิงหาคม -รับจ้าง -ถางไร่ -ปลูกข้าว -ปลูกพืชสวน -หาหน่อไม้ -ปลูกมันสำปะหลัง -ปลูกอ้อย -ทอผ้า -หาเห็ด -เลี้ยงสัตว์ -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -ปลูกข้าวไร่ -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -หาหน่อไม้ -ปลูกมันสำปะหลัง -ปลูกอ้อย -ทอผ้า -หาเห็ดโคน/เห็ดเถาะ -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -ค้าขาย
กันยายน -ค้าขาย -รับจ้าง -ถางไร่ -ปลูกพืชสวน -เลี้ยงสัตว์ -ปลูกอ้อย -ปลูกข้าวโพด -ทอผ้า -หาหัวบุก -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -ปลูกอ้อย -ปลูกข้าวโพด -ทอผ้า -หาหัวบุก
ตุลาคม -ค้าขาย -รับจ้าง -ปลูกพืชสวน -รับจ้างตีมีด -หาหัวบุก -เลี้ยงสัตว์ -ทอผ้า -ปลูกข้าวโพด -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -หาหัวบุก -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -ทอผ้า -ปลูกข้าวโพด
พฤศจิกายน -ค้าขาย -รับจ้าง -รับจ้างตีมีด -หาหัวบุก -เกี่ยวข้าว -เลี้ยงสัตว์ -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -หาหัวบุก -เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ)
ธันวาคม -ค้าขาย -รับจ้าง -เกี่ยวข้าวไร่ -หาหัวบุก -เลี้ยงสัตว์ -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว -หาหัวบุก -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ)

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม - โรคอหิวาต์ไก่ (โรคขี้ขาว) - อากาศมีการเปลี่ยนแปลง (อากาศหนาว) - ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย - เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก/ผู้สูงอายุ
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง - เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
มีนาคม เกิดภัยแล้ง -ระดับน้ำในลำห้วยเริ่มลดลง
เมษายน เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในลำห้วยเริ่มลดลง
พฤษภาคม เริ่มเข้าฤดูฝน เกิดพายุฤดูฝน ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้มาลาเรีย
มิถุนายน ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม ฤดูฝน พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี
สิงหาคม ฤดูฝน พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน เห็ดโคนออก/ บางปีเป็นเห็ดเถาะ ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนและเห็ดเถาะเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
ตุลาคม ฝนตกหนัก ชาวบ้านถางหญ้าไร่ข้าว
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาว อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนา
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็น ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม