สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม ขึ้นบ้านใหม่/มัดมือบ้านใหม่ ประเพณีแต่งงาน เป็นการรวมตัวของลูกหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้อยู่เย็นเป็นสุข เป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกัน และพร้อมที่จะเป็นครอบครัว เป็นการรวมตัวของลูกหลานเพื่อทำพิธีมัดมือ/ผูกข้อมือให้อยู่เย็นเป็นสุข เป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกัน และพร้อมที่จะเป็นครอบครัว
กุมภาพันธ์ ขึ้นบ้านใหม่ ประเพณีแต่งงาน มีการประกอบพิธีขึ้นบ้านใหม่เพื่อให้ผู้คนในบ้านอยู่เย็นเป็นสุข เป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกัน และพร้อมที่จะเป็นครอบครัว มีการประกอบพิธีขึ้นบ้านใหม่เพื่อให้ผู้คนในบ้านอยู่เย็นเป็นสุข เป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกัน และพร้อมที่จะเป็นครอบครัว
เมษายน มัดมือหมู่บ้าน ประเพณีวันสงกรานต์ เป็นการมัดมือประจำปีของคนในหมู่บ้านทุกคนโดยจะทำปีละ1ครั้ง มีการรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน และเล่นสาดน้ำในหมู่บ้าน เป็นการมัดมือประจำปีของคนในหมู่บ้านทุกคนโดยจะทำปีละ1ครั้ง มีการรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน และเล่นสาดน้ำในหมู่บ้าน
มิถุนายน เลี้ยงผีหมู่บ้าน การเลี้ยงผีหมู่บ้านโดยนำขนมไปถวายต้นไม้ต้นหนึ่งในหมู่บ้านที่ทำกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษขนมบ้านละหม้อเลี้ยงผีเสร็จก็จะรับประทานกันเพื่อให้คนในชุมชนอยู่ดีมีสุข การเลี้ยงผีหมู่บ้านโดยนำขนมไปถวายต้นไม้ต้นหนึ่งในหมู่บ้านที่ทำกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษขนมบ้านละหม้อเลี้ยงผีเสร็จก็จะรับประทานกันเพื่อให้คนในชุมชนอยู่ดีมีสุข
กรกฏาคม เลี้ยงผีไร่ ผีนา (แสะคึ) แห่เทียนเข้าพรรษา เป็นการเลี้ยงผีนาเพื่อให้การทำนาให้ได้ผลผลิตดีเยอะ เมื่อถึงวันเข้าพรรษาจะมีการตักบาตรทำบุญ ที่วัดห้วยมะโหนก เป็นการเลี้ยงผีนาเพื่อให้การทำนาให้ได้ผลผลิตดีเยอะ เมื่อถึงวันเข้าพรรษาจะมีการตักบาตรทำบุญ ที่วัดห้วยมะโหนก
สิงหาคม มัดมือลาขุ วันแม่แห่งชาติ คนในหมู่บ้านจะผูกข้อมือเรียกขวัญให้ลูกหลานในแต่ละบ้านของตนเอง จัดงานวันแม่ในสถานศึกษาให้นักเรียนเคารพพระบรมฉายาลักษณ์พระบรมราชินีนาถและไหว้แม่ คนในหมู่บ้านจะผูกข้อมือเรียกขวัญให้ลูกหลานในแต่ละบ้านของตนเอง จัดงานวันแม่ในสถานศึกษาให้นักเรียนเคารพพระบรมฉายาลักษณ์พระบรมราชินีนาถและไหว้แม่
พฤศจิกายน ลอยกระทง จัดกิจกรรมลอยกระทงในหมู่บ้านห้วยมะโหนกคี จัดกิจกรรมลอยกระทงในหมู่บ้านห้วยมะโหนกคี
ธันวาคม พิธีเลี้ยงนก(เกาะเอาะโทะ)กินข้าวใหม่ วันพ่อแห่งชาติ เรียกนกมากินข้าวใหม่หลังเก็บเกี่ยวเสร็จ กินข้าวใหม่เพื่อผลผลิตกินได้ตลอดทั้งปี จัดพระบรมฉายาลักษณ์และให้นักเรียนพร้อมผู้ปกครองจุดเทียนถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ เรียกนกมากินข้าวใหม่หลังเก็บเกี่ยวเสร็จ กินข้าวใหม่เพื่อผลผลิตกินได้ตลอดทั้งปี จัดพระบรมฉายาลักษณ์และให้นักเรียนพร้อมผู้ปกครองจุดเทียนถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม จับจองพื้นที่ทำไร่ จับจองพื้นที่ทำไร่
กุมภาพันธ์ ถางไร่เพื่อปลูกข้าวไร่ ถางไร่เพื่อปลูกข้าวไร่
มีนาคม ถางไร่เพื่อทำการเกษตร ถางไร่เพื่อทำการเกษตร
เมษายน เผาไร่ เผาไร่
พฤษภาคม ปลูกข้าวไร่/หว่านต้นกล้าข้าวนา ปลูกข้าวไร่/หว่านต้นกล้าข้าวนา
สิงหาคม ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง)
กันยายน หาเห็ดโคน หาเห็ดโคน
พฤศจิกายน เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม โรคอหิวาไก่ (โรคขี้ขาว) โรคปากเท้าเปื่อยในวัว ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย เล็บวัวเป็นแผล ปากเป็นแผล เดินไม่ได้ ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย เล็บวัวเป็นแผล ปากเป็นแผล เดินไม่ได้
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก อากาศมีการเปลี่ยนแปลง เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
มีนาคม เกิดไฟป่า ชาวบ้านต้องเฝ้าระวังไฟป่าสร้างแนวกันไฟเพื่อไม่ให้ไฟลามเข้ามาในหมู่บ้าน เกิดไฟป่า ชาวบ้านต้องเฝ้าระวังไฟป่าสร้างแนวกันไฟเพื่อไม่ให้ไฟลามเข้ามาในหมู่บ้าน
เมษายน เกิดภัยแล้ง เกิดพายุฤดูร้อน น้ำประปาภูเขาไหลไม่ทั่วถึงทุกครัวเรือน ทำให้ต้นไม้หักล้ม สร้างความเสียหายในหมู่บ้าน เกิดภัยแล้ง เกิดพายุฤดูร้อน น้ำประปาภูเขาไหลไม่ทั่วถึงทุกครัวเรือน ทำให้ต้นไม้หักล้ม สร้างความเสียหายในหมู่บ้าน
พฤษภาคม เริ่มเข้าฤดูฝน เกิดพายุฤดูฝน ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น ทำให้ต้นไม้หักล้ม สร้างความเสียหายในหมู่บ้านเริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น ทำให้ต้นไม้หักล้ม สร้างความเสียหายในหมู่บ้านเริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย
มิถุนายน ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น
กรกฏาคม ฤดูฝนพื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้นชาวบ้านเริ่มหว่านไร่ ฤดูฝนพื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้นชาวบ้านเริ่มหว่านไร่
สิงหาคม ฤดูฝนพื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น ชาวบ้านทำไร่และด้ายหญ้าข้าวไร่ ฤดูฝนพื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น ชาวบ้านทำไร่และด้ายหญ้าข้าวไร่
กันยายน เห็ดโคนออกชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้ เห็ดโคนออกชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
ตุลาคม เห็ดชนิดต่างๆ ฝนตกหนัก ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายเห็ด เกิดดินถล่มในพื้นที่การเกษตร เห็ดชนิดต่างๆ ฝนตกหนัก ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายเห็ด เกิดดินถล่มในพื้นที่การเกษตร
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาวอากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก เริ่มเข้าฤดูหนาวอากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็นไก่เริ่มเกิดโรคระบาด ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวไร่ อากาศมีความหนาวเย็นไก่เริ่มเกิดโรคระบาด ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวไร่


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม