สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม ถวายทานข้าวหลาม ทำบุญถวายข้าวหลามในวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 4 ( เหนือ )
พฤษภาคม ประเพณีผูกข้อมือฮี้ฃอโค๊ะ เป็นการผูกข้อมือประจำปีที่ชาวบ้านจะผูกข้อมือพร้อมกันหลายครอบครัว มีผู้เฒ่าผู้แก่จะผูกข้อมือให้กับเด็กๆ ฮี้ฃอแปลว่า บ้านใหม่ฃึ่งหมายถึงการผูกข้อมือขึ้นบ้านใหม่
กรกฏาคม ผูกข้อมือเดือน 7( กี้จือลาขุ ) แห่เทียนเข้าพรรษา เป็นการผูกข้อมือประจำปีที่ชาวบ้านจะผูกข้อมือพร้อมกันหลายครอบครัว มีผู้เฒ่าผู้แก่จะผูกข้อมือให้กับเด็กๆ หลังจากการตรากตรำงานจากไร่นาจนข้าวเริ่มเขียวชะอุ่ม ก่อนวันเข้าพรรษาชาวบ้านในหมู่บ้านร่วมกับศศช.นำเทียนจำนำพรรษามาถวายที่สำนักสงฆ์เมื่อถึงวันเข้าพรรษาจะมีการตักบาตรทำบุญ พุทธศาสนิกชนในหมู่บ้านจะมาสวดมนต์
สิงหาคม วันแม่แห่งชาติ จัดพระบรมฉายาลักษณ์และสมุดลงนามถวายพระพร เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มาร่วมลงนามถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตต์พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
พฤศจิกายน ลอยกระทง จัดกิจกรรมลอยกระทงในหมู่บ้านบริเวณลำน้ำแสมให้กับนักเรียนและชุมชนได้รู้และเข้าใจวัฒนธรรมที่ดีงามของบรรพบุรุษ
ธันวาคม วันพ่อแห่งชาติ จัดพระบรมฉายาลักษณ์และสมุดลงนามถวายพระพร เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มาร่วมลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อแห่งชาติและให้นักเรียนและชุมชนได้ระลึกถึงผู้มีพระคุณที่มีต่อตัวผู้เรียน
เมษายน - ประเพณีวันสงกรานต์ - มีการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระ และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม - ค้าขาย - ขายของชำและเก็บหาของป่าขายเช่น ผักกูด ผักหนาม เป็นต้น
กุมภาพันธ์ - รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) - จักสานไม้ไผ่ - เก็บผักกูด - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (สุกร ไก่ โค) - ออกไปรับจ้างหางานทำในเมืองหลังหมดงานภาคเกษตร - จักสานเครื่องใช็ในครัวเรือน - เก็บผักกูดขายในช่วงที่ผักมียอดอ่อน - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้เองและจำหน่ายเป็นรายไดเสริม - เลี้ยงสัตว์เป็นอาชีพเสริมและเป็นอาหารในครัวเรือน เช่นไก่ สุกร โค เป็นต้น
มีนาคม - ถางวัชพืชเพื่อเตรียมทำการเกษตร - จักสานไม้ไผ่ - เก็บผักกูด - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (สุกร ไก่ โค) - ค้าขาย - รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) - ถางวัชพืชในไร่เพื่อเตรียมทำการเกษตรในฤดูกาลใหม่ - จักสานอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่ - เก็บผักกูดขายในช่วงที่ผักแตกยอดอ่อน - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม - เลี้ยงสัตว์ไว้ขายและไว้บริโภค เช่น ไก่ สุกร โค เป็นต้น
เมษายน - ตีผึ้ง เก็บน้ำผึ้ง - รับจ้างภาคการเกษตร - จักสานไม้ไผ่ - เก็บผักกูด - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) - จักสานอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่ - เก็บผักกูดขายในช่วงที่ผักแตกยอดอ่อน - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม - เลี้ยงสัตว์ไว้ขายและไว้บริโภค เช่น ไก่ สุกร โค เป็นต้น - ตีผึ้งและเก็บน้ำผึ้งขายเป็นรายได้เสริม - รับจ้างทำงานรายวันในฤดูกาลเกษตร
พฤษภาคม - ค้าขาย - รับจ้างภาคการเกษตร - ปลูกข้าวไร่ - จักสานไม้ไผ่ - เก็บผักกูด - ปลูกข้าวโพด - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ โค) - จักสานอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่ - เก็บผักกูดขายในช่วงที่ผักแตกยอดอ่อน - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม - เลี้ยงสัตว์ไว้ขายและไว้บริโภค เช่น ไก่ สุกร โค เป็นต้น - ตีผึ้งและเก็บน้ำผึ้งขายเป็นรายได้เสริม - รับจ้างทำงานรายวันในฤดูกาลเกษตร - ปลูกข้าวไร่เป็นอาชีพหลักไว้บริโภคในครัวเรือน - ปลูกข้าวโพดเป็นอาชีพหลักไว้จำหน่ายเป็นรายได้หลักให้กับครอบครัว
มิถุนายน - ค้าขาย - รับจ้างภาคการเกษตร - ปลูกข้าวไร่ - ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) - หาหน่อไม้ - จักสานไม้ไผ่ - เก็บผักกูด - ปลูกข้าวโพด - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) - จักสานอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่ - เก็บผักกูดขายในช่วงที่ผักแตกยอดอ่อน - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม - เลี้ยงสัตว์ไว้ขายและไว้บริโภค เช่น ไก่ สุกร โค เป็นต้น - ตีผึ้งและเก็บน้ำผึ้งขายเป็นรายได้เสริม - รับจ้างทำงานรายวันในฤดูกาลเกษตร - ปลูกข้าวไร่เป็นอาชีพหลักไว้บริโภคในครัวเรือน - ปลูกข้าวโพดเป็นอาชีพหลักไว้จำหน่ายเป็นรายได้หลักให้กับครอบครัว - ปลูกพืชสวนไว้บริโภคและจำหน่ายเป็นรายได้เสริม เช่น พริก มะเขือ ฟักทอง เป็นต้น - ขายของชำแลเก็บของป่าขาย
กรกฏาคม - ค้าขาย - รับจ้างภาคการเกษตร - ปลูกข้าวไร่ - ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) - หาหน่อไม้ - จักสานไม้ไผ่ - ปลูกข้าวโพด - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) - จักสานอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่ - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม - เลี้ยงสัตว์ไว้ขายและไว้บริโภค เช่น ไก่ สุกร โค เป็นต้น - รับจ้างทำงานรายวันในฤดูกาลเกษตร - ปลูกข้าวไร่เป็นอาชีพหลักไว้บริโภคในครัวเรือน - ปลูกข้าวโพดเป็นอาชีพหลักไว้จำหน่ายเป็นรายได้หลักให้กับครอบครัว - ปลูกพืชสวนไว้บริโภคและจำหน่ายเป็นรายได้เสริม เช่น พริก มะเขือ ฟักทอง เป็นต้น - ขายของชำแลเก็บของป่าขาย - หาหน่อไม้ขายเป็นรายได้เสริม
สิงหาคม - จักสานไม้ไผ่ - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ โค) - ปลูกข้าวไร่ - ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) - หาหน่อไม้ - ค้าขาย - รับจ้างภาคการเกษตร - จักสานอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่ - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม - เลี้ยงสัตว์ไว้ขายและไว้บริโภค เช่น ไก่ สุกร โค เป็นต้น - รับจ้างทำงานรายวันในฤดูกาลเกษตร - ดูแลกำจัดวัชพืชในไร่ข้าวเป็นอาชีพหลักไว้บริโภคในครัวเรือน - ปลูกพืชสวนไว้บริโภคและจำหน่ายเป็นรายได้เสริม เช่น พริก มะเขือ ฟักทอง เป็นต้น - ขายของชำและเก็บของป่าขาย - หาหน่อไม้ขายเป็นรายได้เสริม
กันยายน - ค้าขาย - รับจ้างภาคการเกษตร - ปลูกข้าวไร่ - ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) - จักสานไม้ไผ่ - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) - จักสานอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่ - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม - เลี้ยงสัตว์ไว้ขายและไว้บริโภค เช่น ไก่ สุกร โค เป็นต้น - รับจ้างทำงานรายวันในฤดูกาลเกษตร - ดูแลกำจัดวัชพืชในไร่ข้าว - ปลูกพืชสวนไว้บริโภคและจำหน่ายเป็นรายได้เสริม เช่น พริก มะเขือ ฟักทอง เป็นต้น - ขายของชำและเก็บของป่าขาย
ตุลาคม - ค้าขาย - รับจ้างภาคการเกษตร - ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) - เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว - จักสานไม้ไผ่ - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) - จักสานอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่ - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม - เลี้ยงสัตว์ไว้ขายและไว้บริโภค เช่น ไก่ สุกร โค เป็นต้น - รับจ้างทำงานรายวันในฤดูกาลเกษตร - ปลูกพืชสวนไว้บริโภคและจำหน่ายเป็นรายได้เสริม เช่น พริก มะเขือ ฟักทอง เป็นต้น - ขายของชำและเก็บของป่าขาย - เกี่ยวข้าวในไร่เก็บเกี่ยวผลผลิตเก็บไว้บริโภค
พฤศจิกายน - ค้าขาย - รับจ้างภาคการเกษตร - เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว - เกี่ยวข้าวนา - จักสานไม้ไผ่ - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ โค) - จักสานอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่ - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม - เลี้ยงสัตว์ไว้ขายและไว้บริโภค เช่น ไก่ สุกร โค เป็นต้น - รับจ้างทำงานรายวันในฤดูกาลเกษตร - ขายของชำและเก็บของป่าขาย - เกี่ยวข้าวในไร่เก็บเกี่ยวผลผลิตเก็บไว้บริโภค - เกี่ยวข้าวนาปีเก็บเกี่ยวผลผลิตเก็บไว้บริโภค
ธันวาคม - จักสานไม้ไผ่ - เก็บฝักข้าวโพด - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ โค) - เกี่ยวข้าวนา - ค้าขาย - รับจ้างภาคการเกษตร - จักสานอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่ - ทอผ้ากะเหรี่ยงใช้และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม - เลี้ยงสัตว์ไว้ขายและไว้บริโภค เช่น ไก่ สุกร โค เป็นต้น - รับจ้างทำงานรายวันในฤดูกาลเกษตร - เก็บเกี่ยวข้าวโพดเป็นอาชีพหลักไว้จำหน่ายเป็นรายได้หลักให้กับครอบครัว - ขายของชำและเก็บของป่าขาย - เกี่ยวข้าวนาปีเก็บเกี่ยวผลผลิตเก็บไว้บริโภค

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม - โรคอหิวาต์ไก่ (โรคขี้ขาว) - อากาศหนาวเย็นและมีหมอกในตอนเช้า - ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย - ชาวบ้านจะก่อไฟผิงเพื่อให้ไออุ่นแก่ร่างกายทำให้ผิวหนังแห้งกร้าน
กุมภาพันธ์ - อากาศมีการเปลี่ยนแปลง - เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่
มีนาคม - เกิดภัยแล้ง - ระดับน้ำในลำห้วยบางแห่งเริ่มแห้งและขาดแคลนน้ำใช้
เมษายน - เกิดภัยแล้ง - เกิดพายุฤดูร้อน - ระดับน้ำในลำห้วยบางแห่งเริ่มแห้งและขาดแคลนน้ำใช้โดยเฉพาะประปาภูเขาในหมู่บ้าน - ทำให้ฝนตกและมีลูกเห็บตก
พฤษภาคม - เริ่มเข้าฤดูฝน - เกิดพายุฤดูฝน - ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น - ชาวบ้านเริ่มลงมือในการหยอดข้าวไร่และปลูกข้าวโพด - เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้มาลาเรีย
มิถุนายน - ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน - เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น - ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ - ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม - ฤดูฝน - พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น - ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี
สิงหาคม - ฝนตก - พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น - ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน - .ฝักข้าวโพดเริ่มแก่ - ขาวบ้านที่ทำไร่ข้าวโพดเริ่มหักข้าวโพดขายเป็นฝักสด
ตุลาคม - ข้าวโพดฝักแห้ง - ชาวบ้านเริ่มเก็บข้าวโพดและแกะเปลือกออกเก็บไว้ในยุ้งฉางที่ปลอดภัย
พฤศจิกายน - เริ่มเข้าฤดูหนาว - อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม - ข้าวในท้องนาเริ่มเหลืองแก่ - ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปีและนวดข้าว


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม