สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม กินข้าวใหม่ ร่วมกันนำอาหารคาวหวามมารวมกันทั้งหมู่บ้านเพื่อทำพิธกินข้าวใหม่เมื่อเสร็จพิธีนำอาหารที่ไปทำพิธีมาแบ่งกันกิน ทุกคน
กุมภาพันธ์ แต่งงาน เป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความรักใคร่ด้วยกันต่อกัน พร้อมที่จะดำเนินชีวิตร่วมกัน และพร้อมที่จะสร้าง ครอบครัวด้วยกัน
เมษายน ประเพณีวันสงกรานต์ มีการรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุหรือญาติของตนในหมู่บ้าน
กรกฏาคม ประเพณีผูกข้อมือประจำปี ชาวบ้านในหมู่บ้านแต่ละครอบครัวจะมีพิธีผูกข้อมือประจำปีให้กับลูกหลาน
สิงหาคม วันแม่แห่งชาติ จัดพระบรมฉายาลักษณ์และสมุดลงนามถวายพระพร เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มาร่วมลงนามถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
ตุลาคม บูรณะซ่อมแซมวัดในวันออกพรรษา ชาวบ้านในหมู่บ้านร่วมกันทำความสะอาดบริเวณวัดและบูรณะซ่อมแซมสำนักสงฆ์บ้านห้วยหมาบ้า-ทีโพฉิโกล
วันลอยกระทง จัดพระบรมฉายาลักษณ์และสมุดลงนามถวายพระพร เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มาร่วมลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ
ธันวาคม วันพ่อแห่งชาติ จัดพระบรมฉายาลักษณ์และสมุดลงนามถวายพระพร เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มาร่วมลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ
พฤศจิกายน วันลอยกระทง จัดกิจกรรมลอยกระทงในหมู่บ้าน

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม พิธีมัดมือเรียกขวัญวันขึ้นปีใหม่ 2.วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ นิยมทำทุกบ้าน ทำแต่ละบ้านของตนเอง
กุมภาพันธ์ วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ ชาวบ้านถือว่าได้ทำงานมาหนึ่งเดือนที่อาศัยธรรมชาติและเหน็ดเหนื่อยจึงหยุดเพื่อปรึกษาหารือและสัมพันธ์กับชุมชนด้วยกัน
มีนาคม ถางไร่ เพื่อปลูกข้าว 2.วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ ชาวบ้านได้ร่วมกันลงแขกถางไร่ในแต่ละปีเพื่อจะดำเนินการทำไร่ 2.ชาวบ้านถือว่าได้ทำงานมาหนึ่งเดือนที่อาศัยธรรมชาติและเหน็ดเหนื่อยจึงหยุดเพื่อปรึกษาหารือและสัมพันธ์กับชุมชนด้วยกัน
เมษายน ประเพณี ฮิซอโคะ 2.วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ เป็นประเพณีมัดมือทั้งหมู่บ้านพร้อมกันและมีแก่นบ้านต้องไปทำพิธีทุกบ้านและถือว่าเป็นการมัดมือเรียกขวัญให้ชาวบ้านในชุมชนทุกคนและเป็นการทำบุญบ้านด้วย 2.ชาวบ้านถือว่าได้ทำงานมาหนึ่งเดือนที่อาศัยธรรมชาติและเหน็ดเหนื่อยจึงหยุดเพื่อปรึกษาหารือและสัมพันธ์กับชุมชนด้วยกัน
พฤษภาคม ลงแขกทำไร่ หว่านพืช 2.วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ ชาวบ้านจะช่วยกันลงแขก หว่านพืชไร่ ต้อนรับฤดูฝนและการดูแลพืช 2.ชาวบ้านถือว่าได้ทำงานมาหนึ่งเดือนที่อาศัยธรรมชาติและเหน็ดเหนื่อยจึงหยุดเพื่อปรึกษาหารือและสัมพันธ์กับชุมชนด้วยกัน
มิถุนายน เลี้ยงผีไร่ 2.วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ ชาวบ้านมีความเชื่อว่าไร่ที่เราปลูกพืชนั้นมีเจ้าของหรือผี เทวดาอาศัยอยู่เพื่อให้เขาช่วยดูแลพืชพรรณที่ปลูกเป็นการตอบแทน เป็นต้น 2.ชาวบ้านถือว่าได้ทำงานมาหนึ่งเดือนที่อาศัยธรรมชาติและเหน็ดเหนื่อยจึงหยุดเพื่อปรึกษาหารือและสัมพันธ์กับชุมชนด้วยกัน
กรกฏาคม วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ ชาวบ้านถือว่าได้ทำงานมาหนึ่งเดือนที่อาศัยธรรมชาติและเหน็ดเหนื่อยจึงหยุดเพื่อปรึกษาหารือและสัมพันธ์กับชุมชนด้วยกัน
สิงหาคม วันแม่แห่งชาติ 2.วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ 3.มัดมือลาคุปู ชาวบ้านถือว่าเป็นวันของแม่แผ่นดินเพื่อเป็นการตอบแทนจำตอบแทนโดยการพัฒนาชุมชนของตน 2.ชาวบ้านถือว่าได้ทำงานมาหนึ่งเดือนที่อาศัยธรรมชาติและเหน็ดเหนื่อยจึงหยุดเพื่อปรึกษาหารือและสัมพันธ์กับชุมชนด้วยกัน 3.เป็นประเพณีมัดมือทั้งหมู่บ้านพร้อมกันและมีแก่นบ้านต้องไปทำพิธีทุกบ้านและถือว่าเป็นการมัดมือเรียกขวัญให้ชาวบ้านในชุมชนทุกคน
กันยายน .วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ ชาวบ้านถือว่าได้ทำงานมาหนึ่งเดือนที่อาศัยธรรมชาติและเหน็ดเหนื่อยจึงหยุดเพื่อปรึกษาหารือและสัมพันธ์กับชุมชนด้วยกัน
ตุลาคม วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ ชาวบ้านถือว่าได้ทำงานมาหนึ่งเดือนที่อาศัยธรรมชาติและเหน็ดเหนื่อยจึงหยุดเพื่อปรึกษาหารือและสัมพันธ์กับชุมชนด้วยกัน
พฤศจิกายน ลงแขกเกี่ยวข้าวไร่ 2.วันหยุดทุกวันเดือนเพ็ญขึ้น 15 ค่ำและแรม 15 ค่ำ เมือพรรณพืชอุดมสมบูรณ์ออกดอกออกผลสุขพร้อมที่ถึงเวลาเก็บเกี่ยวก็จะถึงเก็บเกี่ยว 2.ชาวบ้านถือว่าได้ทำงานมาหนึ่งเดือนที่อาศัยธรรมชาติและเหน็ดเหนื่อยจึงหยุดเพื่อปรึกษาหารือและสัมพันธ์กับชุมชนด้วยกัน
ธันวาคม เรียกขวัญข้าว เมื่อชาวบ้านเก็บเกี่ยวพรรณพืชแล้วถือว่าข้าวใหม่ได้กลับสู่บ้านจึงจัดพิธีต้อนรับเป็นการเลี้ยงเรียกขวัญข้าวฯ

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม อากาศมีการเปลี่ยนแปลง อากาศหนาว เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กมีขี้มูกไหล
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง อากาศหนาว เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กมีขี้มูกไหล
มีนาคม เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในลำห้วยห้วยหมาบ้าเริ่มลดลง ระบบประปาภูเขามีน้ำไหลไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ในหมู่บ้านและศศช.
เมษายน เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในลำห้วยห้วยหมาบ้าเริ่มลดลง ระบบประปาภูเขามีน้ำไหลไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ในหมู่บ้านและศศช.บ้านห้วยหมาบ้าไม่สามารถปลูกพืช-ผักได้
พฤษภาคม - เริ่มเข้าฤดูฝน - เกิดพายุฤดูฝน - ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น - ทำให้ต้นกล้วยน้ำว้าหักล้ม สร้างความเสียหายในการเกษตรของศศช.บ้านห้วยหมาบ้า
มิถุนายน - ฝนตกมากขึ้น มีเห็ดถอบออก - เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น - ชาวบ้านหาเก็บเห็ดถอบมาบริโภคและขายเป็นรายได้เสริม - ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้เสริม
กรกฏาคม ฤดูฝน - พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น - ชาวบ้านถางหญ้าในไร่ข้าว
สิงหาคม ฤดูฝน - พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น - ชาวบ้านถางหญ้าในไร่ข้าว
กันยายน ฤดูฝน - พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น - ชาวบ้านถางหญ้าในไร่ข้าว
ตุลาคม เข้าสู่ฤดูเก็บเกี่ยวข้าวไร่ -ชาวบ้านเริ่มเก็บเกี่ยวข้าวไร่ที่ปลูกไว้โดยการลงแขกเกี่ยวเอาแรงกัน
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาว อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะไข้หวัดในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็น ชาวบ้านมีความต้องการเครื่องนุ่งห่มที่มีความอบอุ่นมากๆ


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม