สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม 1. ประเพณีมัดมือ คนในชุมชนแต่ละครอบครัวจะเตรียมไก่ หมู เหล้า เสื้อแต่ละคนคนละ 1 ตัว ใส่ตะกร้ารวมกันและให้ปู่หรือย่าที่มีอายุมากที่สุดมัดมือก่อน
กุมภาพันธ์ 2. ก่อพระเจดีย์ข้าวเปลือก คนในหมู่บ้านร่วมกันนำข้าวเปลือกมาก่อเป็นพระเจดีย์ที่วัดห้วยดอกเกี๋ยง และทำการสมโภช เพื่อเป็นการระลึกถึงพระคุณของพระแม่โพสพ ข้าวเปลือกที่นำมารวมกันจะนำไปขายและนำเงินมาถวายวัดห้วยดอกเกี๋ยง
เมษายน 3. ประเพณีวันสงกรานต์ มีการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระ และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
กรกฏาคม 4. แห่เทียนเข้าพรรษา ก่อนวันเข้าพรรษาชาวบ้านในหมู่บ้านร่วมกับหน่วยงานต่างๆ นำเทียนจำนำพรรษามาถวายที่วัดห้วยดอกเกี๋ยง เมื่อถึงวันเข้าพรรษาจะมีการตักบาตรทำบุญ พุทธศาสนิกชนในหมู่บ้านจะมาสวดมนต์นั่งสมาธิทุกวันพระตลอดช่วงเข้าพรรษา
ตุลาคม 6. บูรณะซ่อมแซมวัดในวันออกพรรษา ชาวบ้านร่วมกันทอดผ้าป่า และแห่ผ้าป่ามาถวายที่วัดปากวังเพื่อบูรณะซ่อมแซมวัด
สิงหาคม 5. วันแม่แห่งชาติ จัดพระบรมฉายาลักษณ์และสมุดลงนามถวายพระพร เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มาร่วมลงนามถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
พฤศจิกายน ลอยกระทงบ้านห้วยดอกเกี๋ยงนหมู่บ้านบริเวณห้วยสินา จัดกิจกรรมลอยกระทงสายในหมู่บ้านบริเวณห้วยสินา
ธันวาคม 8. วันพ่อแห่งชาติ จัดพระบรมฉายาลักษณ์และสมุดลงนามถวายพระพร เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มาร่วมลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -รับจ้างนอกภาคการเกษตร ในเมือง -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -จักสานไม้ไผ่. -ทอผ้า -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) คนในชุมชนแต่ละครอบครัวจะเตรียมไก่ หมู เหล้า เสื้อแต่ละคนคนละ 1 ตัว ใส่ตะกร้ารวมกันและให้ปู่หรือย่าที่มีอายุมากที่สุดมัดมือก่อน
กุมภาพันธ์ -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร - รับจ้างภาคการเกษตร - รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) - รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว - จักสานไม้ไผ่ - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
มีนาคม -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร - รับจ้างภาคการเกษตร - รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) - รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว - จักสานไม้ไผ่ - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -ระดับน้ำในลำห้วยดอกเกี๋ยง เริ่มลดลง ไม่สามารถอุปโภดและบริโภดได้เต็มที่
เมษายน ถางไร่เพื่อทำการเกษตร - รับจ้างภาคการเกษตร - รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) - รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว - จักสานไม้ไผ่ - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) - ปลูกข้าวไร - ตีผึ้ง เก็บน้ำผึ้ง -ตีผึ้ง เก็บน้ำผึ้ง -มีการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระ -ประเพณีวันสงกรานต์และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
พฤษภาคม - รับจ้างภาคการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยว -จักสานไม้ไผ่ข้าว - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น - ทำให้สะพานแม่ตื่นขาด -เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก
มิถุนายน -รับจ้างภาคการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง - หาหน่อไม้ - ทอผ้า - เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ -ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม -รับจ้านอกภาคการการเกษตร -หาหน่อไม้ -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว. -จักสานไม้ไผ่ -พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น -การปลูกข้าวนา
สิงหาคม -รับจ้านอกภาคการการเกษตร -หาหน่อไม้ -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว. -จักสานไม้ไผ่ 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน -รับจ้างภาคการเกษต -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -จักสานไม้ไผ่ -หาเห็ด -เห็ดโคนออก -ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
พฤศจิกายน -เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว- -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -เริ่มเข้าฤดูหนาว -อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม -รับจ้างภาคการเกษตร -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -อากาศมีความหนาวเย็น - ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด -ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม 1 โรคอหิวาต์ไก่ (โรคขี้ขาว) 2. โรคปากเท้าเปื่อยในวัว 1ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย 2.เล็บวัวเป็นแผล ปากเป็นแผล เดินไม่ได้
มีนาคม เกิดภัยแล้ง ระดับน้ำในลำห้วยดอกเกี๋ยง เริ่มลดลง ไม่สามารถอุปโภดและบริโภดได้เต็มที่
เมษายน 1 เกิดภัยแล้ง 2 เกิดพายุฤดูร้อน ตีผึ้ง เก็บน้ำผึ้ง
พฤษภาคม 1 เริ่มเข้าฤดูฝน 2 เกิดพายุฤดูฝน 1 ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2 ทำให้สะพานแม่ตื่นขาด 3 เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก
มิถุนายน 1 ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน 2 เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 1 ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ 2 ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
สิงหาคม ฤดูฝน พื้นที่การเกษ. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปีตรมีความชุ่มชื้น
กันยายน ฤดูฝน พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน เห็ดโคนออก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
ตุลาคม เห็ดไข่ห่าน ไข่เหลือดออก ฝนตกหนัก ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายเห็ดไข่ห่าน ไข่เหลือง น้ำท่วมในพื้นที่การเกษตร ตลิ่งริมแม่น้ำ...พัง
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาว อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็น ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม