สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตาก
 
วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในรอบ 1 ปี
เดือน ชื่อวัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี
มกราคม 1. ผูกข้อมือปีใหม่ ทุกครอบครัวมัดมือเรียกขวัญโดยเชิญญาติ พ่อแก่แม่เฒ่าและหัวหน้าครอบครัวมามัดข้อมือเรียกขวัญให้กำลังใจให้กับลูกหลานภายในครอบครัว
มกราคม 2. ทำบุญข้าวใหม่ หลังจากเก็บเกี่ยวจากไร่/นาแล้วก่อนนำผลผลิตมารับประทานชาวบ้านจะนำเอาผลผลิตที่ได้ไปร่วมทำบุญถวายพระที่วัดก่อนนำมารับประทาน
เมษายน 3. บรรพชาและอุปสมบทหมู่ ภาคฤดูร้อน จัดกิจกรรมบรรพชาและอุปสมบทหมู่ในภาคฤดูร้อนที่วัดปากวัง เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และให้เยาวชนตลอดจนผู้ที่สนใจได้ศึกษาธรรมะและวิชาการต่างๆในช่วงปิดภาคเรียน
เมษายน 4. ประเพณีวันสงกรานต์ มีการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระ และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
สิงหาคม แห่เทียนเข้าพรรษา ก่อนวันเข้าพรรษาชาวบ้านในหมู่บ้านร่วมกับหน่วยงานต่างๆ นำเทียนจำนำพรรษามาถวายที่วัดบ้านทีนามู เมื่อถึงวันเข้าพรรษาจะมีการตักบาตรทำบุญ พุทธศาสนิกชนในหมู่บ้านจะมาสวดมนต์นั่งสมาธิทุกวันพระตลอดช่วงเข้าพรรษา
สิงหาคม 7. ผูกข้อมือลาคุ ทุกครอบครัวมัดมือเรียกขวัญโดยเชิญญาติ พ่อแก่แม่เฒ่าและหัวหน้าครอบครัวมามัดข้อมือเรียกขวัญให้กำลังใจให้กับลูกหลานภายในครอบครัว
สิงหาคม 8. วันแม่แห่งชาติ -จัดพระบรมฉายาลักษณ์และสมุดลงนามถวายพระพร เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มาร่วมลงนามถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
ตุลาคม ออกพรรษา ชาวบ้านจะร่วมกันทำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้งเลี้ยงพระและฟังเทศน์ฟังธรรมพร้อมกับบูรณะปรับปรุงพัฒนาซ่อมแซมวัดในตอนเช้า
พฤศจิกายน ลอยกระทงบ้านทีนามู จัดกิจกรรมลอยกระทงในหมู่บ้านบริเวณแม่น้ำแม่ตื่น
พฤศจิกายน พิธีนวดข้าว ชาวบ้านจะทำพิธีนวดข้าวก่อนที่จะนวดข้าวทุกครั้ง โดยมีการล้มหมู / ฆ่าไก่ วินวอนขอพรจากสิ่งศักธิ์ต่างๆให้ได้ผลผลิตมากๆ

ปฏิทินฤดูกาล ด้านอาชีพของชุมชน
เดือน การทำงาน ลักษณะของการทำงาน
มกราคม -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ดเทศ) -ทุกครอบครัวมัดมือเรียกขวัญโดยเชิญญาติ พ่อแก่แม่เฒ่าและหัวหน้าครอบครัวมามัดข้อมือเรียกขวัญให้กำลังใจให้กับลูกหลานภายในครอบครัว -หลังจากเก็บเกี่ยวจากไร่/นาแล้วก่อนนำผลผลิตมารับประทานชาวบ้านจะนำเอาผลผลิตที่ได้ไปร่วมทำบุญถวายพระที่วัดก่อนนำมารับประทาน
กุมภาพันธ์ -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยง -เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก เพราะมีอากาศหนาวเย็นมาก
กุมภาพันธ์ -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็น ) -เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก เพราะมีอากาศหนาวเย็นมาก
มีนาคม -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็น ) 1.ระดับน้ำลดลง /เกิดไฟปา 2.ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายดอกก้าน (ดอกบุก)
เมษายน -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -ปลูกข้าวไร่ -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -ตีผึ้ง เก็บน้ำผึ้ง -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็ด ) -จัดกิจกรรมบรรพชาและอุปสมบทหมู่ในภาคฤดูร้อนที่วัดปากวัง เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และให้เยาวชนตลอดจนผู้ที่สนใจได้ศึกษาธรรมะและวิชาการต่างๆในช่วงปิดภาคเรียน -มีการทำบุญตักบาตรในตอนเช้า จากนั้นจึงสรงน้ำพระ และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในหมู่บ้าน -1. ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย 2. เล็บวัวเป็นแผล ปากเป็นแผล เดินไม่ได้
พฤษภาคม -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -รับจ้างนอกภาคการเกษตร (ในเมือง) -ถางไร่เพื่อทำการเกษตร -ปลูกข้าวไร่ -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -รับจ้างตีมีด เคียวเกี่ยวข้าว -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็ด ) 1. ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2. ฝนตกมากทำให้เมล็ดพืชพันธุ์ที่หยอด/หว่านถูกชำระไปกับน้ำเสียหายมาก 3. เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก
มิถุนายน -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -หาหน่อไม้ -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็ด ) -เป็นพิธีเรียกขวัญให้กับข้าวไร่/ข้าวนา ตามความเชื่อต่อๆกันมาจากบรรพบุรุษ มีการเลี้ยงด้วย ไก่ หมู หรือ ขนมและผลไม้ โดยวินวอนขอพรจากสิ่งศักสิทธิ์ให้พืชพันธ์ของตนเองดีสวยงามมีผลผลิตที่ดี -1. ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ 2. ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -หาหน่อไม้ -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็ด ) 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี 3. ปลูกข้าวนาป๊
สิงหาคม -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -หาหน่อไม้ -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็ด ) -ทุกครอบครัวมัดมือเรียกขวัญโดยเชิญญาติ พ่อแก่แม่เฒ่าและหัวหน้าครอบครัวมามัดข้อมือเรียกขวัญให้กำลังใจให้กับลูกหลานภายในครอบครัว -ก่อนวันเข้าพรรษาชาวบ้านในหมู่บ้านร่วมกับหน่วยงานต่างๆ นำเทียนจำนำพรรษามาถวายที่วัดบ้านทีนามู เมื่อถึงวันเข้าพรรษาจะมีการตักบาตรทำบุญ พุทธศาสนิกชนในหมู่บ้านจะมาสวดมนต์นั่งสมาธิทุกวันพระตลอดช่วงเข้าพรรษา -จัดพระบรมฉายาลักษณ์และสมุดลงนามถวายพระพร เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มาร่วมลงนามถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ -พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น
กันยายน -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -หาหน่อไม้ -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็ด ) -หาเห็ดสางขาย-อื่นๆ -1.ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายเห็ดไข่ห่าน ไข่เหลือง 2.ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายบุกป่าขาย -ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
ตุลาคม -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -หาหน่อไม้ -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็ด ) -หาเห็ดสางขาย-อื่นๆ -ชาวบ้านจะร่วมกันทำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้งเลี้ยงพระและฟังเทศน์ฟังธรรมพร้อมกับบูรณะปรับปรุงพัฒนาซ่อมแซมวัดในตอนเช้า -1.ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายเห็ดไข่ห่าน ไข่เหลือง 2.ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายบุกป่าขาย
พฤศจิกายน -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -หาหน่อไม้ -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็ด ) -เกี่ยวข้าวไร่ ตีข้าว -ชาวบ้านจะทำพิธีนวดข้าวก่อนที่จะนวดข้าวทุกครั้ง โดยมีการล้มหมู / ฆ่าไก่ วินวอนขอพรจากสิ่งศักธิ์ต่างๆให้ได้ผลผลิตมากๆ -จัดกิจกรรมลอยกระทงในหมู่บ้านบริเวณแม่น้ำแม่ตื่น -1.อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก อากาศเริ่มหนาว 2. ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวไร่/นา
ธันวาคม -ค้าขาย -รับจ้างภาคการเกษตร -ปลูกพืชสวน (พริก มะเขือ ฟักทอง) -หาหน่อไม้ -จักสานไม้ไผ่ -ทอผ้า -เลี้ยงสัตร์ ( หมู ไก่ เป็ด ) -หลังจากชาวบ้านได้รวบรวมผลผลิตแล้วชาวบ้านจะทำพิธีเลี้ยงส่งสิ่งศักสิทธ์ด้วย ไก่ หรือ หมูจากความเชื่อต่อๆกันมาจากบรรพบุรุษ -1.ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2.ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี -เก็บเกี่ยวข้าวโพดขาย

ปฏิทินฤดูกาลของหมู่บ้าน
เดือน เหตุการณ์ / ปรากฎการณ์ ลักษณะของปรากฎการณ์/ผลกระทบ
มกราคม 1. โรคอหิวาไก่ (โรคขี้ขาว) 2. โรคปากเท้าเปื่อยในวัว 1. ไก่มีอาการเฉา ขี้ขาว หน้าบวม ไก่ตาย 2. เล็บวัวเป็นแผล ปากเป็นแผล เดินไม่ได้
กุมภาพันธ์ อากาศมีการเปลี่ยนแปลง เกิดโรคหวัดในหมู่บ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก เพราะมีอากาศหนาวเย็นมาก
มีนาคม เกิดภัยแล้ง 1.ระดับน้ำลดลง /เกิดไฟปา 2.ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายดอกก้าน (ดอกบุก)
เมษายน 1. เกิดภัยแล้ง 2. เกิดพายุฤดูร้อน 1เกิดหมอกควันจากการเผาไร่ เผ่าสวน ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจ 2. ทำให้เกิดอากาศร้อนอบอ้าว สัตว์ไม่มีหญ้ากินไม้ ผอมแห้งตาย
พฤษภาคม 1. เริ่มเข้าฤดูฝน 2. เกิดพายุฤดูฝน 1. ฝนตกทำให้ดินเริ่มเกิดความชุ่มชื้น 2. ฝนตกมากทำให้เมล็ดพืชพันธุ์ที่หยอด/หว่านถูกชำระไปกับน้ำเสียหายมาก 3. เริ่มเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก
มิถุนายน 1. ฝนตกหนัก อึ่งอ่างเริ่มออกหากิน 2. เริ่มมีของป่า (หน่อไม้) มากขึ้น 1. ชาวบ้านหาจับอึ่งอ่างมาบริโภคและขายเป็นรายได้ 2. ชาวบ้านเริ่มเก็บหาของป่า (หน่อไม้) ไว้บริโภค และขายเป็นรายได้
กรกฏาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านเริ่มไถหว่านนาปี
สิงหาคม ฤดูฝน 1. พื้นที่การเกษตรมีความชุ่มชื้น 2. ชาวบ้านทำนาปี
กันยายน เห็ดโคนออก ชาวบ้านออกเก็บเห็ดโคนเพื่อบริโภคและขายเป็นรายได้
ตุลาคม 1. เห็ดไข่ห่าน ไข่เหลืองออก 2. ฝนตกหนัก 1. ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายเห็ดไข่ห่าน ไข่เหลือง 2. ชาวบ้านเริ่มมีรายได้จากการขายบุกป่าขาย
พฤศจิกายน เริ่มเข้าฤดูหนาว 1. อากาศเริ่มเปลี่ยนแปลง เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก อากาศเริ่มหนาว 2. ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวไร่/นา
ธันวาคม อากาศมีความหนาวเย็น 1. ไก่เริ่มเกิดโรคระบาด 2. ชาวบ้านเริ่มเกี่ยวข้าวนาปี


 
สงวนลิขสิทธิ์ @ 2013 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตาก.
Powered by : Admin, http://tak.nfe.go.th จำนวนผู้เข้าชม